Monthly Archives: August 2013

Day 99-100 (Sary Tash – Kashgar)

On Sunday we had a job to do and that was to cycle to the chinese border. The other travelers who accompanied us in Sary Tash during our ordeal there could look forward to yet another day in the village since they would take a transport on Monday morning. It would be to lie to say that it wasn’t a relief to finally leave Sary Tash in the early Sunday afternoon.

Kyrgyzstan is very very beautiful, but the mountains in the background is actually in the Pamirs in Tajikistan

Kyrgyzstan is very very beautiful, but the mountains in the background is actually in the Pamirs in Tajikistan

According to a signpost at the junction in the village it was 71 km to the border and our intention was to camp some 10 km before getting there. The altitude profile we had made already in Osh told us it was going to be a flat ride the first 30 km and then a little bit uphill.

We all know that travelling along the same road a second time usually gives a feeling that it is shorter and thus we felt that the first 15 km of the day went past very quickly. Then came the uphill section. We were already at 3500 meter and although not very steep at all the road slowly brought us up to 3760 meters altitude. Our speed up that hill was very low but that was soon to be changed.

At 3760 meters altitude. Cycling nerds - look at our chains... it was uphill.

At 3760 meters altitude. Cycling nerds – look at our chains… it was uphill.

Every uphill has a downhill on the other side and so did this one. With a perfect road, a gentle slope and no traffic made both of us beat our speed records. The new record is now 68.8 km/h. With our heavy loaded bicycles it felt like riding a motorcycle 🙂

Struggling uphill...

Struggling uphill…

What took us 90 minutes to go uphill would take less than maybe 10 minutes to roll downhill if it wasn’t for the many stops to take photos and just admire the stunning scenery.

Our late start and the many stops made us ride through the sunset. The wind picked up in the evening and when we looked for a spot to pitch our tent we had to find one that provided some shelter from the wind. The spot we found had a wonderful view but when we finally had time to sit down and enjoy it, it was already dark.

Campsite with a view. It was so windy so we built a small wall of stones to prevent the wind from lifting the tent

Campsite with a view. It was so windy so we built a small wall of stones to prevent the wind from lifting the tent

The following morning was the day we had waited for for almost a week – the day of our entry into China. It is always sensitive to take photos in border zones in this part of the world and thus we don’t have very many pictures from this area.

After only 5 km from our campsites, we had our first encounter with the border formalities. Kyrgyzstan has a pre-checkpoint 10 km from the real border and here they checked our passports and noted our names in a book before we could continue.

An old rocktet launcher (Stalin Organ) beside the road in Nura. It even had some rockets inside. It can't have been in use since it was  aimed back at Kyrgyzstan rather than towards China.

An old rocktet launcher (Stalin Organ) beside the road in Nura. It even had some rockets inside. It can’t have been in use since it was aimed back at Kyrgyzstan rather than towards China.

A few kilometers before the real border we got to the village of Nura. All the buildings looked very similar and all had bright blue roofs. We had never seen such similarity in Kirgizstan before, but later we were told that the village was destroyed by a earthquake and a following landslide some years ago. When rebuilding the village all houses came out in the same way.

Only blue roofs in Nura.

Only blue roofs in Nura.

The proceedings at the Kyrgyz side of the border was smooth. We cycled past several hundred trucks that were waiting to get through. With our exit visas stamped into our passports we could ride 500 meter to the chinese side where a lone chinese soldier took a quick look in our passports and told us to go to the next checkpoint 4 km down the road.

The chinese have moved the real border checkpoint 140 km inland and the second checkpoint in the mountains was only a sort of a thorough pre-check. We got a few of our panniers inspected and they even asked us to show the content of our computer and camera.

Since it is only a pre-check we didn’t get any stamps there and the chinese don’t want independant travellers inside the country who haven’t yet passed the proper border checkpoint. This is a wellknown fact among cyclists and we knew that the officials would put us either on a shared taxi or a truck. We had prepared for this by buying some ropes at the bazar in Osh to tie our bikes and bags to the truck.

Going with the first truck

Going with the first truck

A chinese officer found a truck for us and we removed the pedals and turned the handlebar and loaded our things into the empty cargo hold only to find that there were no holes, no hooks, no nothing to tie our bikes and bags to so we tied them together hoping that one big and heavy piece would move around less.

The road is mostly on gravel but a new road is built and some sections are ready and in use. At one of those sections there was a long pile of gravel across the road. It was maybe 20 cm high and I saw it long before we got there. When we approached the driver didn’t slow down and a few seconds before hitting it I understood the the driver hadn’t seen it. Wej and I held on to our seats and then a huge ”baaang” sent us airborne for a second or two. When we landed the loockers over the windscreen got open and the drivers private clothes, blankets, food, tools etc. fell out over us.

We got seriously concerned for our bikes. They must have gone airborne too and we feared that something must have got broken, but when we arrived at the real border checkpoint 4 hours later we found out that the bikes and everything was OK.

Finally some good chinese food...

Finally some good chinese food…

When we arrived to the border it was already 6 PM and 100 km remained into the city of Kashgar. We had forgot to buy food and water at the border and were hungry and thirsty, we had no map and no chinese currency so we decided to hitchhike with another truck into Kashgar city. This was our first proper cheat on this trip. When we took the train in Georgia it was because of Wej’s injured knee, but this time the only reason was laziness and bad planning.

We cycled 10 km from the truck parking area and checked into a nice hotel. It was wonderful to shower again after a week without. We also soaked all our clothes in the bathtub for one entire night and they came out like new….

The water after washing our clothes or was it after our first shower in a week ;-)

The water after washing our clothes or was it after our first shower in a week 😉

Kashgar is a small city by Chinese measures but big with Swedish. We stayed for two days and enjoyed strolling around, going to restaurants, buying some electronics (extra harddrive and battery pack) and just be in a big city again.

คีร์ซกิสถาน => Sary-Tash (ซารีทัช) Irkeshtam (อีร์เกชทัม) ไป จีน => Kashgar (คัชก้า)

หลังจากที่รู้ว่าชายแดนปิดถึงวันจันทร์ เวชไม่คิดอะไรเลยถามครั้งเดียวพอ อีกอย่างความเป็นเอเซียด้วยมั้งที่คิดว่า ในเมื่อวันพฤหัสฯ เป็นวันหยุด คนคีร์กิซฯ น่าจะฉวยโอกาสหยุดวันศุกร์ไปด้วยเลย รับข้อมูลมาและไม่ค่อยคิดอยากจะถามอีก ไม่เหมือนโจคิมกับเพื่อนใหม่ชาวเชคฯ สองคนนี้เดินวนไปวนมา ถามคนท้องถิ่นทางโน้นทีทางนี้ที คุยกับนักท่องเที่ยวคนอื่น ๆ เวชเริ่มปวดหัว ยิ่งพูดยิ่งปวดหัว น่าจะเป็นเพราะว่าซารีทัชอยู่สูงถึง 3170 ม.จากระดับน้ำทะเล เช้าวันต่อมาหน้าตาเริ่มบวม ๆ ตอนกลางคืนขยับตัวทีเหนื่อยถึงขนาดหอบเลย ความท่ีอากาศไม่ร้อนจึงไม่จำเป็นต้องอาบน้ำทุกวัน อิอิ ซกมกจริง ๆ แต่ก่อนที่เราจะออกเดินทางต่อไปและไม่รู้ว่าจะได้อาบน้ำราดทั้งตัวอีกครั้งเมื่อไหร่เลยขอให้เขาต้มน้ำให้อาบ เพราะที่นั่นอุณหภูมิประมาณ 13-14 องศาเอง ได้น้ำเย็นมาถังหนึ่งและกระบวยมาตักน้ำร้อนจากในกระทะใบใหญ่ (ที่เขาต้มด้วยอึวัวแห้ง ดีที่กลิ่นมันหายไปกับแสงแดด 🙂 ) ผสมกันดีแล้วก็อาบในที่แจ้งนั่นโดยมีรั้วสูงขึ้นมาแค่ถึงเอวเวชได้มั้ง ถ้าคนสูง ๆ อาจจะแค่เข่า อยากราดทั้งตัว ถ้ามายืนในคอกแบบนี้มีหวังหมดโอกาส เลยหิ้วกระถังน้ำไปห้องน้ำที่มีประตูปิดมิดชิดแถมกลิ่นก็มิดชิดยู่ในนั้น แรงอีกต่างหาก ยอมทน เพราะดีกว่าไปยืนตากลม พออาบเสร็จสั่นหงึก ๆ เลย ทำให้เพื่อนใหม่ชาวเชคฯ ไม่ค่อยอยากอาบเท่าไหร่ 🙂 อยู่ตามแถบภูเขา เชื้อเพลิงที่ได้จึงไม่ค่อยได้มาจากไม้แต่เป็นขี้วัวตากแห้ง โจคิมว่าที่สวีเดนจะใช้ขี้วัวเป็นปุ๋ยเสียมากกว่า ส่วนจะเอามาเป็นเชื้อเพลิงนั้นไม่ค่อยมีเพราะกว่าขี้วัวจะแห้งใช้เวลานานเกิน แต่ที่คีร์กิซสถานนั้น ตากแค่ชั่วโมงหนึ่งก็แห้งแข็งแล้วมั้ง เพราะอากาศบนภูเขาค่อนข้างแห้ง

อึวัวแห้งสำหรับเป็นเชื้อเพลิงอยู่ข้าง ๆ กระทะน้ำร้อนใช้อาบและเอาไปชงชาด้วย โจคิมเห็นเขามาตักใส่กระติกน้ำร้อน เอางัยเอากัน ยังงัยน้ำก็ถูกต้มแล้ว หวังว่าคงฆ่าเชื้อไปหมด

อึวัวแห้งสำหรับเป็นเชื้อเพลิงอยู่ข้าง ๆ กระทะน้ำร้อนใช้อาบและเอาไปชงชาด้วย โจคิมเห็นเขามาตักใส่กระติกน้ำร้อน เอางัยเอากัน ยังงัยน้ำก็ถูกต้มแล้ว หวังว่าคงฆ่าเชื้อไปหมด

อีกวันรุ่งขึ้นเพื่อนคนโปแลนด์ส่ง sms มาให้และบอกว่าเขาโชคดีคือตอนที่จะเขากางเต้นท์มีน้ำไม่พอ เลยปั่นกันต่อเข้าไปในหมู่บ้านเล็ก ๆ และได้ข่าวจากชาวบ้านว่าพรุ่งนี้เป็นวันหยุดถ้าจะผ่านชายแดนไปจีนควรจะไปตอนนี้เลยนั่นคือตอนเกือบจะหกโมงเย็นนั่นเอง โชคดีของเขาไป แต่เราคิดว่าเราได้พักที่หมู่บ้านซารีทัชก็ดีเช่นกัน ได้พักผ่อนหลังจากที่ปั่นข้ามเขาที่เคยได้อ่านจากที่ไหนสักแห่งว่าเส้นทางข้ามเขาไปหมู่่บ้านซารีทัชเป็นเส้นทางที่สวยที่สุดองคีร์กิซฯ คิดว่าเห็นด้วยเต็ม 100% จากภาพที่ถ่ายมาให้ชมกันเป็นแค่เสี้ยวหนึ่งที่กล้องสามารถจับได้ แต่เราไม่สามารถถ่ายทอดธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ได้เห็น 360 องศา

แล้ววันอาทิตย์ที่เรารอคอยก็มาถึง เราออกเดินทางไม่เช้านัก เส้นทางสวยอย่างที่ไม่สามารถปั่นผ่านไปอย่างที่ไม่หยุดถ่ายภาพได้ วันแรกจะขึ้นเขาเสียส่วนใหญ่ และหลังจากห้ำหั่นกับความสูง เราก็มาจอดที่ไหล่ทางเพื่อหาที่กางเต้นท์ หาไม่ยากแต่ไม่มีน้ำอย่างที่เพื่อนชาวโปแลนด์ว่า แต่เราตุนน้ำมาด้วยแล้วจึงไม่มีปัญหา แค่ต้องต้มทำความสะอาดแต่ก็ต้องใช้อย่างประหยัด

จุดกางเต้นท์หลังจากไหลลงจากเขามา จริง ๆ อยากจะไหลลงต่อไป แต่จะมืดเสียก่อน ตรงนี้หนาวมาก ลมแรง หินที่เห็นนั่นคือเอามาบังลมค่ะ แต่พอดึกหน่อยลมเริ่มอ่อนแรงลง อุณหภูมิอยู่ที่ 6-7 องศา

จุดกางเต้นท์หลังจากไหลลงจากเขามา จริง ๆ อยากจะไหลลงต่อไป แต่จะมืดเสียก่อน ตรงนี้หนาวมาก ลมแรง หินที่เห็นนั่นคือเอามาบังลมค่ะ แต่พอดึกหน่อยลมเริ่มอ่อนแรงลง อุณหภูมิอยู่ที่ 6-7 องศา

SONY DSC

SONY DSC

เริ่มปั่น อืม..ต้องบอกว่าปล่อยไหลต่อไปอีกไม่นานก็มาถึงจุดตรวจของคีร์ซกิสถานจุดแรก แต่พอผ่านจุดตรวจตรงนี้ อ้าว..ไหงให้เราไต่ขึ้นเขาอีกแล้ว เฮ้อ… ขึ้นก็ขึ้น ทางนี้สวยจริง ๆ มิน่าเพื่อนคนสวีเดนคนหนึ่งที่เคยมาปั่นแถวนี้บอกว่าอยากกลับมาปั่นที่คีร์ซกิสถานอีก เรายังอยากจะกลับมาอีกเลย ทางมีขึ้น ๆ ลง ๆ ตลอดทาง เราผ่านมาถึงหมู่บ้านสุดท้ายซึ่งขึ้นชื่อว่าวางอะไรโดยที่ไม่มีใครเฝ้าไม่ได้เป็นหาย และหมู่บ้านนี้เคยได้ยินว่ามีแผ่นดินไหวเมื่อหลายปีที่แล้ว นั่นอาจจะเป็นเหตุผลที่เขาสร้างบ้านกันใหม่ ไม่รู้้ว่าเป็นเพราะต้องการประหยัดหรือเปล่านะ ทุกหลังมีหลังคาสีฟ้ากันหมด

หมู่บ้านนูรา ดูใหม่ทั้งหมู่บ้าน คาดว่าน่าจะมีจากอุบัติเหตุแผ่นดินไหวเมื่อหลายปีที่แล้ว

หมู่บ้านนูรา ดูใหม่ทั้งหมู่บ้าน คาดว่าน่าจะมีจากอุบัติเหตุแผ่นดินไหวเมื่อหลายปีที่แล้ว

DCIM100GOPRO

เรามาถึงจุดตรวจจุดสองของคีร์ซกิสถาน จะตรวจอะไรกันนักหนานะ ตรงนี้เขาจะประทับตราว่าเราออกจากประเทศ จากจุดนี้เราสามารถปั่นไปได้แค่ไม่กี่ร้อยเมตร ลาดขึ้นเล็กน้อย แต่ถนนแย่มาก อีกไม่นานคงจะดีเพราะเขากำลังก่อสร้างกันอยู่ ถึงตรงนี้จะมีทหารของจีนละ แค่ดูพาสปอร์ตเราและอนุญาติให้เราปั่นต่อไปที่จุดตรวจอีกจุดหนึ่งเพื่อเช็คกระเป๋า หนังสือเดินทาง จดชื่อเรา และที่นี่เองที่นักท่องเที่ยวทั้งหลายทั้งนักปั่น แบ๊คเพ๊คและนักเดินทางอิสระ ต้องจ้างรถแท๊กซี่หรือรถบรรทุกเพื่อไปกองตรวจของจีนซึ่งย้ายเข้าไปในเมืองเข้าไปอีกประมาณ 140 กม. ที่นี่เองเรามาเจอเพื่อนเราคนเชคฯ เขามาถึงก่อนเราจึงได้ออกไปก่อน แต่พวกเขาต้องนั่งแท๊กซี่และเสียค่ารถ แต่เราซึ่งมีจักรยานต้องไปกับรถบรรทุก โชคดีตรงที่รถบรรทุกส่วนใหญ่จากคีร์ซกิสถานไปจีนจะว่างเพราะส่วนใหญ่จะไปบรรทุกของจากจีนมาคีร์ซกิสถานเสียมากกว่า เราได้รถบรรทุกคันหนึ่งซึ่งเห็นหน้าคนขับแล้ว เขาไม่ค่อยเต็มใจเท่าไหร่ แต่เหมือนเจ้าหน้าที่ที่ด่านบังคับเล็ก ๆ คนขับรถเก็บหนังสือเดินทางของเราพร้อมกับเอกสารที่มีรายชื่อเราไว้ ด้วยเหตุผลที่ว่าเรากับรถบรรทุกคันนี้จะต้องเดินทางไปด้วยกันจากจุดตรวจที่นี่ไปจนถึงจุดตรวจที่ประทับตราเข้าประเทศจีนอย่างเป็นทางการ และด้วยระยะทาง 140 กม. ที่ไม่ค่อยราบเรียบเท่าไหร่นัก กระเด้งกระดอนกันเกือบ 4 ชม. พอมาถึง เหมือนคันที่เรานั่งมาด้วยจะมีสิทธิพิเศษมากกว่าคันอื่น คือไม่ต้องต่อแถวตามลำดับ เขาสามารถขับไปด้านหน้าเพื่อให้เจ้าหน้าที่มาเปิดกุญแจที่ล๊อคคอนเทนเนอร์ไว้ แล้วเขาก็ขับต่อไปเลย ส่วนเราต้องเอาทั้งกระเป๋าและจักรยานไปตรวจที่กองตรวจของจีนอีกครั้งหนึ่ง เอาละค่ะ เจ้าหน้าที่เห็นหน้าเวชปุ๊บก็พ่นภาษาจีนใส่ทันที พูดและบอกได้แค่ว่า “ฉันเป็นคนไทย” คงได้ใช้ประโยคนี้ทั้งสามเดือนในจีนนี่แน่ หน้าหมวยเสียเปล่าเนอะดันพูดไม่ได้ สงสัยต้องกลับไปเรียนภาษาจีนให้คล่องเสียแล้ว โครงการต่อไป 😉

วิวจากรถบรรทุกคันแรก ช่วงนี้ถนนเรียบเพิ่งทำเสร็จใหม่เอี่ยม แต่มีช่วงหนึ่งเขาวางกองทรายกีดขวางเหมือนให้ชลอ แต่นายนี่ไม่อ่ะ ขับเหมือนมองไม่เห็นสิ่งกีดขวางนั่น เราสองคนลอยจากที่นั่ง ของที่เขาอัดไว้ที่ชั้นวางของในรถ เทกระจาดลงมาเป็นกองพะเนินเลย ในใจเรานึกถึงจักรยานสองคันที่นอนอยู่ด้านหลัง นั่งไปก็คิดไปว่าจะมีอะไรหักหรือเสียหายหรือเปล่าน๊า แต่โชคดีไม่เป็นอะไรเลย เฮ้อ...

วิวจากรถบรรทุกคันแรก ช่วงนี้ถนนเรียบเพิ่งทำเสร็จใหม่เอี่ยม แต่มีช่วงหนึ่งเขาวางกองทรายกีดขวางเหมือนให้ชลอ แต่นายนี่ไม่อ่ะ ขับเหมือนมองไม่เห็นสิ่งกีดขวางนั่น เราสองคนลอยจากที่นั่ง ของที่เขาอัดไว้ที่ชั้นวางของในรถ เทกระจาดลงมาเป็นกองพะเนินเลย ในใจเรานึกถึงจักรยานสองคันที่นอนอยู่ด้านหลัง นั่งไปก็คิดไปว่าจะมีอะไรหักหรือเสียหายหรือเปล่าน๊า แต่โชคดีไม่เป็นอะไรเลย เฮ้อ…

และวิวตามทาง

และวิวตามทาง

เราผ่านขั้นตอนการตรวจทุกอย่าง คิดว่าใช้เวลาไม่นานอย่างที่คิด ซึ่งเป็นวันแม่ฤกษ์ดีจริ ๆ เวลาเริ่มเย็นขึ้นเรื่อย ๆ และความที่เราเป็นห่วงว่าจักรยานจะเป็นอะไรหรือเปล่าหลังจากนอนอยู่ในคอนเทนเนอร์ตั้ง 4 ชม.จึงอยากจะเข้าเมืองคัชก้าที่ใหญ่หน่อย เพื่อไปหาร้านจักรยานให้เขาเช็คเสีย เรานั่งหัวสั่นหัวคลอนมาทั้ง 4 ชม.รู้สึกมึนไปหมด อีกอย่างเราได้อาบน้ำแค่ลวก ๆ เลยยิ่งอยากเข้าเมืองไว ๆ ขอโบกรถบรรทุกคันที่สองเข้าคัชก้าละกันซึ่งอยู่ห่างออกไปอีก 100 กม. ไม่ใช่เรื่องง่ายเท่าไหร่นะ ตอนนั้นเย็นแล้ว รถบรรทุกบางคันตั้งใจที่จะจอดนอนอยู่แถวนั้นแล้วค่อยขับต่อในวันรุ่งขึ้น เราถามอยู่นานกว่าจะได้คนขับใจดีจากคีร์ซกิสถาน เขายังช่วยเราเอาจักรยานเอากระเป๋าขึ้นคอนเทนเนอร์ข้างหลังให้ คันนี้ขับดีหน่อย ในรถก็ดูสะอาดเรียบร้อยกว่าคันแรกเยอะเลย หน้าต่างก็เปิดปิดโดยใช้ไฟฟ้า ขับมาถึงเมืองเล็ก ๆ เขาจอดข้างทาง เราก็งงว่าจะทำอะไร อ๋อ..แวะกินข้าว

รถบรรทุกคันที่สองที่สะอาดกว่าและโจคิมนั่งได้สบายขึ้นมาหน่อย

รถบรรทุกคันที่สองที่สะอาดกว่าและโจคิมนั่งได้สบายขึ้นมาหน่อย

บรรยากาศในร้านที่เรามาแวะกินข้าวเย็นกันที่ร้านง่าย ๆ แอบถ่ายเลยไม่ชัด ;-)

บรรยากาศในร้านที่เรามาแวะกินข้าวเย็นกันที่ร้านง่าย ๆ แอบถ่ายเลยไม่ชัด 😉

ที่จริงเราจะไม่ให้สตางค์กับเขาก็ได้ แต่เผอิญว่าเรามีเงินคีร์ซกิสฯ เหลืออยู่เลยเทให้เขาไปหมด ก็ประมาณ 4 ยูเอสดอลล่าร์ และเลยเลี้ยงอาหารเขามื้อนั้นด้วย เรานั่งกันมาจนกระทั่งถึงจุดที่รถบรรทุกส่วนใหญ่จะจอดนอนค้างคืน เหมือนทุกครั้งที่เราไปขอนอนในช่วงที่ปั่นในยุโรปตะวันออกและในทะเลทราย แต่เราขอตัวและรีบปั่นเข้าเมืองอีก 7-8 กม.เพื่ออาบน้ำและนอนสบาย ๆ

Day 96-98 (Osh – Sary Tash)

The distance from Osh to the border is 250 km and even if it is uphill most of the time we planned to do it in three days. When we decided to postpone our departure with one day Bartek, our Polish friend whom we have cycled with from time to time since we left Azerbaijan, decided to go as planned with some Chezch cyclists he had met. We decided to meet them either after 180 km in or near the village of Sary Tash or at the border and enter China together.

When the day of departure finally came, we didn’t leave the city until 3 PM. It was a bit late but the road was good and the distance short so we didn’t worry or feel any need to speed up.

Beautiful mountain sides in Kyrgyzstan

Beautiful mountain sides in Kyrgyzstan

In the summer of 2011 we spent a month cycling on the Pamir plateau in Tajikistan. The landscape in the Pamirs resembles a lunar landscape and is very dry, rocky and dusty. Although being located close to the Pamirs, the mountains of southern Kyrgyzstan looks very different. Instead of the moonlike landscape on the Pamir plateau, the Kyrgyz mountains are green and water is never far away.

The road south from Osh towards Sary Tash is actually a part of the famous Pamir Highway, but on the Kyrgyz side of the border. Until only a few years ago the road was in very poor condition with broken asphalt and lots of potholes. Chinese money and labour has now led to a road in perfect condition that is a dream to ride a bike on.

Perfect road in wonderful surroundings

Perfect road in wonderful surroundings

Between Osh and Sary Tash there are two mountain passes. The first is at about 2500 meter and the second is at 3600 but from Sary Tash to the border it is flat almost all the way.

Since we didn’t leave Osh until 3 PM we didn’t manage to get very far the first day. The late start combined with a stunning landscape that made us stop to take photos many many times led to us not getting across the first pass during the first day. We decided to camp just below the start of the climb up to the first pass.

The mountains in Kyrgyzstan are very beautiful, especially at sunset

The mountains in Kyrgyzstan are very beautiful, especially at sunset

After the pass at 2500 meter we enjoyed a wonderful downhilll ride along a couple of switchbacks. Unfortunately the downhill part took us down 700 meter to a level which was below the altitude we had started at in the morning. Riding downhill is normally fun, but when you know that an even higher pass waits for you later in the day you wish that the downhill ends as quickly as possible.

Downhill here was fun :-)

Downhill here was fun 🙂

We didn’t know if there would be villages were we could stop and shop food, but there turned out to be many. Finding water was also never difficult since almost all villages had a tap of running water somewhere along the main road.

One of the villages along the road

One of the villages along the road

When we had a short break to buy some cold drinks at a teahouse during our second day, we saw some cyclists approaching us from the opposite direction. When they got close we saw a familiar face. It was the german cyclist Johannes who we had cycled with for some time in Uzbekistan, but who we split from in Samarkand since he was going to the Pamirs while we headed for the Fergana valley. He was now cycling with two polish cyclists and it was a dear re-union and the brief stop to buy a drink turned out to be a one and a half hour long stop to exchange experiences and tips.
SONY DSC

After having crossed the first pass in the morning it was upphill the rest of the day. Our plan was to camp just below the switchbacks that would take us up to the 3600 meter pass before Sary Tash. We were riding without a proper map and when we saw what we thought was the beginning of the steep climb we decided to stop and camp even if it still was a bit too early.

Cooking with beautiful mountains as a background

Cooking with beautiful mountains as a background

When we woke up in the morning it was only 9 degrees. We were now at 2400 meters altitude and had 1200 meter to climb before arriving in Sary Tash where we planned to have lunch before continuing to the border where we had made an appointment with our friend.

8% gradient for the coming 8.4 km is our way of having fun.... :-)

8% gradient for the coming 8.4 km is our way of having fun…. 🙂

After having climbed the first steep climb just next to our camp site we understood we had made a mistake. We were not camping below the switchbacks – they were still far ahead of us and this meant that we would arrive to Sary Tash in the afternoon rather than around noon as we had planned.

We camped the first night just below this mountain

We camped the first night just below this mountain

Climbing the switchbacks was hard. The road was good and not too steep but we started to feel the lack of oxygen and had to stop to catch our breath quite often. When we were resting at one of the turns a boy on a donkey appeared as out of nowhere. We exchanged a few words with him and then we continued up the hill. The boy on the donkey followed us closely. Everytime we stopped, he stopped. He rode his donkey between us and started to whistle songs and copy our heavy breathing. It really annoyed us and finally we had to chase him away only to see him again at the top of the mountain pass.

Happy after having climbed the switchbacks below. One day I'll come back and ride them in the opposite direction....

Happy after having climbed the switchbacks below. One day I’ll come back and ride them in the opposite direction….

Sary Tash is a little tiny village that sits at the intersection where the road from China joins the road from Tajikistan (Pamir Highway). It is not a town – a village is a more proper word for this community but since it is located at an important junction it has a few homestays/guesthouses.

Very exhausted and hungry after the long climb we rolled into the little village at 2.30 PM on Wednesday instead of 12 as planned. We went to one of the guesthouses to get something to eat before continuing to the border at 4.30 PM.

The junction in Sary Tash. China is to the left and Tajikistan to the right along the Pamir Highway.  About 70% of the village is visable in this photo.

The junction in Sary Tash. China is to the left and Tajikistan to the right along the Pamir Highway.
About 70% of the village is visable in this photo.

When we left Sary Tash the wind had picked up and the sky had also got some ugly dark clouds. First we had the wind on our backs but then the road turned and the wind became a strong crosswind. After having cycled 15 km from Sary Tash we got an SMS. We suspected it was from our Polish friend we were going to meet so we quickly stopped to see what he had to say. The message started with the words:

”Bad news guys”….

And the message that followed was that he had got to the border only to find out that it would close the following two days (Thursday-Friday) in addition to the normal weekend closing. It was 17.40 on Wednesday afternoon and 20 minutes left before the border would close for four consecutive days. Our friend did the only reasonable thing to do and went across but we had still 55 km to go and quickly understood that there would be no chance for us to get into China until the border re-opened on Monday morning.
We stopped a truck that came from the border and the driver confirmed that the border would be closed for four days.

High mountains surrounding the road

High mountains surrounding the road

It was cold and windy, we had got bad news and to add some spice to the situation it also started to rain. We were too tired to ride back to Sary Tash and decided to camp and ride back the next day. When we had just spotted a perfect camp site and brought our bikes down the steep sides of the road we saw a truck stopping 100 meters ahead of us. The driver jumped out and ran down to the stream to fetch some water close to where we were going to camp. We hurried to him and asked if we could go with him back to Sary Tash. His truck was carrying some construction machine and there was plenty of room for our bikes so we loaded them and our baggage and jumped into the passenger seat. 15 minutes later we were back in Sary Tash – our place of confinement for the coming four days.

The second homestay we stayed at.

The second homestay we stayed at.

In front of us was the closed border to China and not far in the other direction was Tajikistan to which we had no visa. Behind us was a high mountain pass that we didn’t want to climb again. We were simply stranded in the tiny little mountain village of Sary Tash that is completely without any modern facilities such as running water or showers. Internet access – just forget about it.

We checked in at one of the guesthouses and there were other tourists who didn’t yet know about the closing of the border and who quickly understood that they were also stranded in a village at the end of the world. Too add to a situation that was far from what we had expected we saw the annoying boy on the donkey we had met on the mountain in front of the guesthouse and soon it became clear to us that he was a member of the family who runs the guesthouse we just checked in at.

The toilet building looking good from the outside

The toilet building looking good from the outside

Things started to get clear during the evening. It turned out that the border would be closed on Thursday due to the celebration of the end of Ramadan, but we couldn’t understand why it would be closed on Friday too and during the Thursday morning we walked around the village to try to find information. Some people said it would be open and some said it would be closed.

Since many people in the village work at the border we got 3-4 people we met to call to someone at border to get confirmation if it would be open on Friday or not. All those phonecalls resulted in the same information ”border will be closed on Friday and open again on Monday”.

Scared of the dark when going to the loo?   Then bring a friend along.... This toilet is a standard toilet in central asia. We have seen better and far worse

Scared of the dark when going to the loo?
Then bring a friend along….
This toilet is a standard toilet in central asia. We have seen better and far worse

Since we were still not sure if the border would be open on Friday or not we all decided to go out to the intersection early on Friday morning to see if there would be any trucks heading towards China which would indicate that the border was open. The road was completely empty and there was absolutely no traffic and we lost our last hope of being able to get to China before Monday.

We were obviously stranded in this little mountain village so what to do?

Some travellers decided to catch a ride back to Osh while others decided to stay. We were exhausted after the ride over the two mountain passes and thought we could as well enjoy the extra rest days. But without any sort of entertainment in the village there has been nothing to to do other than sleep, write blog posts, sort photos, watch movies on the computer and keep an eye on the road from China.

The tall and snow capped mountains of Pamir is seen from everywhere in Sary Tash

The tall and snow capped mountains of Pamir is seen from everywhere in Sary Tash

Late in the Friday afternoon convoys of trucks started coming from the Chinese border. How should we interpret that???? We walked up to a small restaurants where some trucks had stopped and asked and it turned out that the border had been open during the Friday after all. It was now Friday evening and we had blown our chances to get to China until Monday. We had tried to gather and analyse information instead of just taking the chance to go to the border to see with our eyes.

Interior of the first homestay with thick carpets on the walls

Interior of the first homestay with thick carpets on the walls

Having missed getting to China on the Wednesday was bad luck, but missing the Friday’s opening was a little bit more annoying, but we didn’t get upset since we had accepted the situation already when we got the first SMS. We had come to terms with our fate that meant that instead of riding to China we could look forward to two more days in Sary Tash that although it has marvellous views over the snow capped 6000 meter peaks of Pamir still is a dead boring little village.

Kyrgyz men outside the local grocery store

Kyrgyz men outside the local grocery store

We stayed two days in the first guesthouse, but then decided to change to a cheaper one.

Most travellers who come to Sary Tash only stay for a night and continue the next morning. We will have spent four nights here and we think we will be the new record holders…. 😉

The sign outside the guesthouse looked inviting.

The sign outside the guesthouse looked inviting.

Our plan is now to cycle to the border on Sunday in order to cross into China on Monday morning and arrive the city of Kashgar on Monday afternoon or evening.

This entire episode of our journey between Göteborg and Bangkok resembles the ferry ride across the Caspian Sea which also included long waiting time, no or conflicting information and frustration that in the end led to giving up and just accepting the situation as it is. It could after all have been a lot worse. Just imagine the extreme frustration if the closing of the border for example had occured very close to our last entry date of our chinese visas.

Half a year ago I would have kept myself busy trying to answer questions suchs as ”what if we had started earlier, didn’t stop too long, gone longer the first day” etc.. Now it seems that I instead quickly accept the new situation and conditions. So it is fair to say that all these hardships have at least led to some personal development…. 🙂

The lessons learned is to always try to enjoy things as they are even if this means spending four days in a boring village where the shower is a bucket in the backyard and the toilet is a hole in a dirty wooden floor…. 🙂

คีร์กีซสถาน => Osh (โอช) ไป Sary-Tash (ซารีทัช)

หลังจากร่ำลากับครบครัวที่ชวนเราไปกินอาหารเช้า เราปั่นเรื่อย ๆ เพราะชายแดนระหว่างอุซเบกฯ กับ คีร์กีซฯ ไม่ไกลมากนัก พอเรามาถึงจุดตรวจ เราปั่นไปที่ประตู ไม่เห็นว่าเขาปิดอยู่ พอไปถึงตรงนั้นก็มีเจ้าหน้าที่มาขอดูหนังสือเดินทาง เขาปล่อยให้เราเข้าไปทางประตูที่เขาปิดไว้ เลยนึกถึงนักปั่นชาวเบลเยี่ยมที่เคยเจอกันที่ทบิลิซิ เขาเคยบอกว่า ตรงนี้เขาให้สิทธิพิเศษกับนักท่องเที่ยวก่อน วันนั้นเราแซงคิวถึง 4 คิว ยังคิดว่าถ้าต้องรอคิวที่ยาวนั่น คงได้นอนค้างคืนตรงนั้นแน่นอน เพราะคิวที่ประตูทางเข้าด้านนอกยังอีกยาว

เราปั่นเข้าโอช (Osh) ถึงประมาณบ่ายแก่ ๆ ปั่นเข้าเมืองใช้เวลามากกว่าปั่นตามทางเพราะถนนซอกซอยเยอะมาก พอมาถึง โอชเกสต์เฮาส์ เขาบอกว่าตึกนั้นเต็มแต่มีอีกที่หนึ่งเดินไปอีกหน่อย โอเค..เดินก็เดิน พอไปถึง เวชนึกว่าโอชอยู่สูงถึง ~1000 ม.จากระดับน้ำทะเล อากาศน่าจะดีหน่อย แต่เปล่าเลย ร้อนอย่างกับอยู่ในเตาอบ พอไปถึงห้องที่เขาพูดถึง ไอ่หย๋า โค…ตรจะร้อน หน้าต่างเปิดไม่ได้แถมปิดด้วยแผ่นพลาสติค พัดลมก็ไม่มี อบมาก นั่งเฉย ๆ ยังร้อน เราเลยเอาแผ่นรองนอนของเราและเอาผ้าปูที่นอนของเขามาปูนอนที่พื้นตรงระเบียงที่ลมสามารถเล็ดลอดเข้ามาได้ ช่วยได้นิดหน่อย แต่ก็ยังร้อน เลยเอาผ้าเช็ดตัวไปชุบน้ำแล้วเอามาห่มขา วันรุ่งขึ้น ไม่มีการลังเลค่ะ เก็บแพ๊คกระเป๋า ย้าย!!! ธรรมดาจะขี้เกียจย้ายไปย้ายมาถ้าไม่จำเป็น แต่ครั้งนี้ทั้งจำเป็นและสุดจะทน

ระเบียงที่เราปูนอนกันบนพื้นตรงข้ามกับจักรยาน เสียดายเขามาเก็บเข้าที่เสียก่อน ไม่ทันถ่ายรูปไว้ประจาน

ระเบียงที่เราปูนอนกันบนพื้นตรงข้ามกับจักรยาน เสียดายเขามาเก็บเข้าที่เสียก่อน ไม่ทันถ่ายรูปไว้ประจาน

ย้ายมาอีกที่หนึ่ง ไกลจากตรงนั้นหน่อย แต่ก็เข้ามาใกล้ร้านพิซซ่าที่อยากกินมานาน เพื่อนเคยเตือนว่าอย่าสั่งอันใหญ่เพราะมันใหญ่มาก เวชสั่งอันเล็กยังกินไม่หมดเลย ที่โอชเกสต์เฮาส์ส่วนใหญ่คนที่มาอยู่คือเด็ก ๆ ที่มีงบน้อยเลยต้องทนอยู่กันไป จึงมีนักท่องเที่ยวมากมายหลายประเทศมาพบปะกันที่นี่ วันที่เราไปกินพิซซ่ากัน มีคนเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน โปแลนด์ สวิสเซอร์แลนด์ สวีเดนและไทย แต่ที่ใหม่ที่เราย้ายไปนั้นค่อนข้างเงียบ อาจจะเป็นเพราะราคาที่แพงขึ้นมาอีกหน่อยแต่ที่เราได้จากที่โรงแรมนี้ก็คุ้มกับการฉลองที่เราปั่นมาได้ครึ่งทาง มีแอร์, อินเตอร์เนต, อาหารเช้าและบรรยากาศสบาย ๆ เพราะเขามีสวนหย่อมให้นั่งเล่น เราได้เจอสามี (ฝรั่งเศส) ภรรยา (มาเลย์) คู่หนึ่งมาเดินเทรคกิ้งที่คีร์กีซสถาน สามีเป็นกุ๊กและเป็นครูสอนทำอาหารฝรั่งเศสที่มาเลเซียด้วย ส่วนภรรยาเป็นนักเขียนเกี่ยวกับอาหารให้กับนิตยสารฉบับหนึ่ง ทั้งสองคนชอบทำอาหาร เราชวนเขาออกไปกินพิซซ่า แต่เขาว่าเขาจะทำอาหารกินกัน และถามเราว่าอยากจะร่วมโต๊ะด้วยมั้ย? แน่นอนสิค่ะ กุ๊กใหญ่มาทำให้กินถึงที่จะปฏิเสธได้อย่างไร 🙂 เริ่มต้นก็สนุกแล้วโดยที่เราติดตามไปซื้อของสดในตลาด นี่ไม่สด นั่นดูไม่ดี เป็นเราก็หยิบไปแล้ว เพราะเลือกไม่เป็น 🙂 ในระหว่างหั่น ๆ สับ ๆ เขาก็จะบอกเคล็ดลับนั่นนี่ให้ฟังตลอด ไม่มีการเก็บเป็นความลับ เหมือนกับว่าฉันบอกเธอแล้วเก็บได้แค่ไหนก็เก็บไป แถมชวนเราปั่นจักรยานไปหาเขาที่มาเลย์อีกด้วย น่าสน 🙂

เด็กที่โรงแรมขี้เล่นหัวเราะเก่ง คุยกันไม่รู้เรื่องแต่ความพยายามเธอสูง ตัวเล็กนิดเดียว

เด็กที่โรงแรมขี้เล่นหัวเราะเก่ง คุยกันไม่รู้เรื่องแต่ความพยายามเธอสูง ตัวเล็กนิดเดียว

บรรยากาศในห้องอาหาร และพนักงานของเขามีคนใส่เสื้อสีขาวเท่านั้นที่คุยภาษาอังกฤษได้ แต่น่ารักทุกคน

บรรยากาศในห้องอาหาร และพนักงานของเขามีคนใส่เสื้อสีขาวเท่านั้นที่คุยภาษาอังกฤษได้ แต่น่ารักทุกคน

โอชเป็นเมืองที่ไม่มีอะไรให้เที่ยวชมมากมายนัก เพราะฉนั้นเราจึงมีโอกาสได้พักผ่อน ดูแลจักรยาน ซักผ้า ติดต่อและสไกป์คุยกับหม่าม๊าและเพื่อน ๆ ที่เมืองไทยและที่สวีเดน เตรียมตัวและของใช้ต่าง ๆ ทำความสะอาดเครื่องครัว เพราะส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีน้ำใช้ เลยใช้ทิชชูชุบน้ำและเช็ดเอาคราบอาหารออกเท่านั้น

ในตลาดที่ใหญ่ที่สุดของเขา

ในตลาดที่ใหญ่ที่สุดของเขา

หมวกนี่ดูท่าทางน่าจะร้อน แต่ยังเห็นเขาใส่กัน งง เคยซื้อมา ขนาดใส่ที่สวีเดนยังร้อนเลย

หมวกนี่ดูท่าทางน่าจะร้อน แต่ยังเห็นเขาใส่กัน งง เคยซื้อมา ขนาดใส่ที่สวีเดนยังร้อนเลย

ก่อนจะออกจากโอช คิดว่าน่าจะใช้เวลา 2 วันปั่นไปเมืองซารีทัช (Sary-Tash) น่าจะเรียกว่าหมู่บ้านมากกว่าเพราะเล็กมากแต่ที่หมู่บ้านนี้มีทางแยกที่ไปประเทศทาจิกิสถานและจีน และตั้งแต่เขาเปิดชายแดนที่หมู่บ้านอีร์เกชทัม (Irkeshtam) ซึ่งห่างจากซารีทัชไป 70 กว่าโล จึงมีนักท่องเที่ยวเดินทางผ่านหมู่บ้านนี้เยอะมาก เราเห็นว่าระยะทางจากโอชไปซารีทัชแค่ 184 กม. 🙂 2 วันน่าจะปั่นถึงแต่ลืมไปนิดว่ามันเป็นทางเขาแถมขึ้นมากกว่าลงและสูงประมาณ 3600 ม. และออกสายอีก กว่าจะเตรียมอะไรเสร็จเวลาบ่ายสามออกจากโอชได้หน่อยเห็นนักปั่น 3 คนปั่นสวนทางเราไป แต่ตอนนั้นอยู่ในเมือง เลยได้แค่โบกมือให้กัน พอออกมานอกเมืองหน่อยก็มาเจออีกคนหนึ่ง เขาปั่นมาจอดฝั่งเราเป็นคนอังกฤษ และบอกว่ารู้จัก 3 คนนั้นที่เราเจอก่อนหน้านี้ด้วย เขาปั่นมาจากซารีทัชภายใน 1 วัน ตอนหลังถึงเข้าใจว่าทำไมเขาถึงทำได้ เพราะขึ้นแค่นิดหน่อยส่วนใหญ่จะลงมากกว่า ลงจาก 3615 ม.มาที่ 1000 ม. แต่แสดงว่าเขาไม่จอดถ่ายรูปหรือชมวิวเลย เพราะตอนที่เราปั่นไปซารีทัชเราจอดและถ่ายรูปกันบ่อยมาก เพราะทางเขานั้นสวยมากและภูเขาหลากสี สีแดง เขียว เทา รถไม่ค่อยมีเท่าไหร่ มีรถบรรทุกคันหนึ่งโบกให้เราเกาะท้ายไปตอนขาขึ้น แต่ไม่ไหวค่ะน่ากลัว กลัวเสียหลักล้มง่าย อีกคันหนึ่งบอกให้เอาจักรยานขึ้นมาด้วยเลย ใจดีจังแต่เราอยากปั่นกันไปมากกว่า

ภาพระหว่างทางปั่นข้ามเขาไปหมู่บ้านซารีทัช

ภาพระหว่างทางปั่นข้ามเขาไปหมู่บ้านซารีทัช

เราแวะพักที่ปั้มเพราะเห็นว่ามีร้านขายของ ซึ่งไม่ค่อยเห็นสักเท่าไหร่ที่นี่ เอ..ขวดนี้แพงกว่าขวดนั้น ถ้าอย่างนั้นเราหยิบขวดที่ถูกดีกว่า พอไปจ่ายตังค์ อ้าว..ทำไมมันแพงจัง โห..มันเล่นคิดเงินตามใจมันเลย จาก 58 เป็น 88 หงุดหงิด เลยเอาขยะไปยัดถังมันอย่างแรง เจ็บใจ เจอคู่อิตาลีปั่นตามมาเจอเราตอนเรากำลังจะไปเลยเตือนเขาเรื่องนี้ ช่วงนี้อากาศยังร้อนอยู่ รู้สึกหิวโค้กเลยแวะที่ร้านข้างทาง ซึ่งไม่ค่อยเห็นบ่อยล่ะ เพราะทางเริ่มจะชันขึ้นเรื่อย ๆ กำลังคุยกับเจ้าของร้าน ก็เห็นมีนักปั่น 3 คนลงจากเขามา เย้..หนึ่งในนั้นมีเพื่อนเราที่แยกกันที่ซามาร์คันด้วย “ยูฮันเนส” คนเยอรมัน เขาเจอนักปั่นคู่หนึ่งจากโปแลนด์ระหว่างทางเลยปั่นด้วยกัน ตอนแรกคิดว่าจะได้เจอยูฮันเนสที่โอช เพราะเราหยุดอยู่ที่นั่นนานกว่าที่เคยวางแผนไว้ และเขาก็หยุดอยู่ที่พามีร์ไฮเวย์ในทาจิกิสถานนานกว่าที่เขาเคยคิดไว้เหมือนกัน แต่ก็ยังดีที่มาเจอกันกลางทาง แยกกันไปและมาเจอกันอีกทีสนุกดี ได้คุยและเช็คสถานการณ์ซึ่งกันและกัน ยูฮันเนสยังได้เจอกับบาเทค คนโปแลนด์ที่ปั่นก่อนหน้าเราหนึ่งวันด้วย

ลายังฉลาดมายืนรอรถเมลย์แทนที่จะเดินขึ้นเชาไปเอง ;-)

ลายังฉลาดมายืนรอรถเมลย์แทนที่จะเดินขึ้นเชาไปเอง 😉

เราแยกกับยูฮันเนสและคู่โปแลนด์ พวกเขาไปกันแล้ว แต่เรายังติดคุยอยู่กับคนแก่คนหนึ่ง คำถามส่วนใหญ่คือมาจากไหน กำลังจะไปไหน ถามเสร็จแกทำท่าเหมือนอวยพรให้เรา ค่ะ ขอบคุณค่ะ พอเราจะปั่นออกไปแกหยิบขนมปังและแอปเปิ้ล 2 ลูก เดินมาให้ ขอบคุณค่ะกำลังต้องการทีเดียว ระหว่างทางเราปั่นผ่านหมู่บ้าน มีเด็กเล็กมากมาย น่าจะเป็นเพราะว่าช่วงนี้โรงเรียนปิดเทอม พวกเขาชอบออกมาที่ถนน ยื่นมือมาให้เราแปะมือกับเขา ดีที่ไม่ค่อยมีรถ แต่รู้สึกไม่ค่อยปลอดภัย กลัวไปชนเด็กเพราะเล่นวิ่งข้ามฝั่งมาอีกทางหนึ่งและไม่ใช่แค่คนหรือสองคน บางทีวิ่งกันมาเป็นขบวนเลย คิดว่าเขาคงเคยชินกับนักปั่นนะ เพราะถนนเส้นนี้เหมือนเป็นทางด่วนของจักรยานก็ว่าได้ อย่างที่เคยบอกข้างต้นว่าปลายทางที่หมู่บ้านซารีทัชมีทางแยกไปประเทศทาจิกิสถานและจีน เราปั่นมาจนกระทั่งเห็นทางขึ้นเขา ก็ค่อนข้างแน่ใจว่าน่าจะเป็นทางซิกแซกชัน ๆ ขึ้นเขาไป เลยจอดกางเต้นท์ตรงนั้น

จุดกางเต้นท์ที่สวยอีกจุดหนึ่ง

จุดกางเต้นท์ที่สวยอีกจุดหนึ่ง

ออกจากที่กางเต้นท์นึกว่าตรงนั้นคือที่เริ่มต้นไต่ขึ้นเขาอย่างท่ีคิด แต่เปล่าเราต้องปั่นไปอีกเกือบ 30 กม. ผ่านร้านอาหาร แต่เราเพิ่งกินขนมปังและกาแฟ เลยยังไม่หิว ซื้อแต่ชาและน้ำซ่า ๆ พอจะจ่ายตังค์เขาบอกไม่เก็บ ขอบคุณค่ะ ปั่นไปซารีทัชไม่ง่ายอย่างที่คิดเลยนะเนี่ย ขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งมาถึงตรงถนนซิกแซกชัน ๆ เหนื่อยมาก เพราะท้องว่าง กินแค่ชาที่ร้านตอนเช้าเปิดถั่วกระป๋องกิน แต่ไม่พอ ผ่านหมู่บ้านเล็ก ๆ แต่ร้านขายของไม่เปิด อยากจะเข้าไปเคาะประตูบ้านชาวบ้านขอขนมปังเขาเลยแหละ แต่คิดว่าน่าจะไหว เลยปั่นกันต่อ โจคิมยังพอมีแรงอยู่แต่เราเริ่มหมดแรง มีขนมและช๊อคโกแลตก็กินหมดไปแล้วแต่ก็ยังไม่ถึงเสียที พอขึ้นถึงจุดสูงสุด โจคิมบอกว่ามันจะลงนิดหน่อยและจะขึ้นอีกหน่อย แค่บอกก็รู้สึกหมดกำลัง พอมาเจอของจริง หมดกำลังใจเลย ต้องปั่นขึ้นอีกตั้ง 2 กม. แง ๆ ๆ เอา..กัดฟันปั่นขึ้นไป เฮ้อ…กว่าจะสนุกกับการลงแทบดิ้น ช่วงขาลงมีมอเตอร์ไซค์สองคันขับแซงเราไปกดแตรทักทายเรา เราก็โบกมือให้ เรามาจอดตรงสามแยกกำลังคิดว่าจะไปทางไหน เห็นหนึ่งในมอเตอร์ไซค์นั่นขับมาแล้วจอดตามขวางที่ป้ายบอกทาง เขาอยากจะถ่ายรูป แต่ปรากฎว่าจอดไม่ดี เสียหลักล้มลง เอาขึ้นเองไม่ได้ เราก็เหนื่อย โจคิมไม่มีขาตั้ง เราเลยไม่ได้ไปช่วยเขา มีชาวบ้านแถวนั้นวิ่งไปช่วย พอมันขึ้นมาได้ มันหันมาเหน็บเราว่า “ขอบคุณที่ไม่มาช่วยมัน ฉันก็จะไม่ช่วยเธอเช่นกัน” บ๊ะ…ไอ่เวร ช่างมัน ปล่อยมันไป แล้วเราก็เลี้ยวไปหาอะไรกิน มันดันตามมากินที่เดียวกับเรา พอมันเห็นเรา มันบอกพื่อนมันว่า “สองคนนี้แหละที่ไม่ช่วยฉัน” โห..คุณนายเวชระเบิด เฮ้ย…จะมากเกินไปละนะ แกขับมอเตอร์ไซค์แต่พวกฉันปั่นจักรยานข้ามเขามา เหนื่อยก็เหนื่อย หิวก็หิว มันต้องรู้สิ เพราะมันแซงเรามา นี่ถ้าโจคิมไม่เบรคเราไว้มีหวังไอ่เวรนั่นคอขาด เพื่อนมันยังดียังมาขอโทษ ไอ่เวรนี่เป็นคนแรกเลยที่ทำให้อารมณ์เสีย

วิวระหว่างทาง

วิวระหว่างทาง

SONY DSC

ชมเขาสูงสะเพลินไปเลย ด้านหนึ่งมีหิมะ แต่อีกด้านหนึ่งไม่เขียวก็เทาไปทั้งเขา

ชมเขาสูงสะเพลินไปเลย ด้านหนึ่งมีหิมะ แต่อีกด้านหนึ่งไม่เขียวก็เทาไปทั้งเขา

แฮ่..เหนื่อย อากาศเริ่มเบาบาง ปั่นซิกแซกโดยอัตโนมัติ แต่ก็พยายามท่องดึงกด ๆ ๆ ไปเรื่อย ๆ

แฮ่..เหนื่อย อากาศเริ่มเบาบาง ปั่นซิกแซกโดยอัตโนมัติ แต่ก็พยายามท่องดึงกด ๆ ๆ ไปเรื่อย ๆ

ก่อนจะไหลลงจากระดับประมาณ 3800 ม.แอ๊คกันเสียหน่อย ;-)

ก่อนจะไหลลงจากระดับประมาณ 3800 ม.แอ๊คกันเสียหน่อย 😉

หลังจากกินอาหารเรียบร้อยแล้ว เราปั่นอกจากซารีทัชตอนสี่โมงเย็น ปั่นไปได้ 13 กม.ได้ sms จากบาเทคว่าชายแดนของคีร์กีซสถานปิดถึงวันจันทร์ เพราะเขาฉลองวันสุดท้ายของศีลอด พอได้ sms ยังไม่ทันได้คิดอะไร ฝนตกอีก ปั่นหนีฝนต่ออีกนิด พอฝนหยุดเราลองเช็คในไกด์บุ๊คว่าหมู่บ้านถัดไปมีอะไรมั้ย? ไม่มี ตอนแรกคิดว่าจะหาที่กางเต้นท์ คิดไปคิดมาตัดสินใจกลับมาที่ซารีทัชละกันอย่างน้อยก็เป็นหมู่บ้านใหญ่กว่าหน่อย ตอนแรกว่าจะปั่นกลับแต่เผอิญเห็นรถบรรทุกจอดเติมน้ำข้างทาง เลยขออาศัยเขามาด้วย ลมเริ่มแรง ฝนเริ่มตก โชคดีที่ไม่ได้อยู่กลางทุ่ง พอมาถึงในหมู่บ้าน เราพักกันอีกที่หนึ่งที่ไม่ใช่ที่เดียวกันกับไอ่เวรนั่น ที่ที่เราพักเราเจอคนเช็คฯ คุยสนุก เขามีไอเดียที่จะเปิดเกสต์เฮาส์ที่ประเทศสถาน ๆ นี่ ถ้าเขาสามารถทำได้ นักท่องเที่ยวน่าจะมาพักที่ของเขามากกว่าแน่นอน

เด็กขี่ลาคนที่เราเจอบนเขาด้วย หมั่นไส้เล็กน้อย เราเหนื่อยมันดันขี่ลาอยู่ข้าง ๆ แล้วผิวปาก เลยโบกมือบอกให้มันไปก่อนเลย หรือ "รีบ ๆ ไป เลยไป" สะมากกว่า :) แต่ดันมาพักอยู่ที่บ้านของไอ่เด็กคนนี้ เฮ้อ...

เด็กขี่ลาคนที่เราเจอบนเขาด้วย หมั่นไส้เล็กน้อย เราเหนื่อยมันดันขี่ลาอยู่ข้าง ๆ แล้วผิวปาก เลยโบกมือบอกให้มันไปก่อนเลย หรือ “รีบ ๆ ไป เลยไป” สะมากกว่า 🙂 แต่ดันมาพักอยู่ที่บ้านของไอ่เด็กคนนี้ เฮ้อ…

ตอนที่เราได้ข้อความจากบาเทค ตอนนั้นอีกแค่ 20 นาทีเขาจะปิดชายแดน ทำอย่างไรเราก็ไปไม่ทัน อีกตั้ง 50 กว่าโล เรากลับมาที่ซารีทัชและรู้สึกเหนื่อย ๆ เพราะความสูงถึง 3600 ม.นี่ หรือเป็นเพราะเราหักโหมปั่นขึ้นเขามา เราเดินไปเดินมาในหมู่บ้านถามหาข้อมูลเกี่ยวกับชายแดนว่าเปิดปิดกี่วัน แต่ละคนให้ข้อมูลที่ไม่เหมือนกันสักคน วันนี้เจอนักปั่นจากนิวซีแลนด์, เยอรมัน และนักโบกจากออสเตรเลีล, แคนาดา, ฝรั่งเศสและโปแลนด์ ทุกคนติดอยู่ที่นี่กันหมด แปลกตรงที่ชายแดนระหว่างคีร์กีซสถานกับจีนปิด แต่ที่ระหว่างทาจิกิสถานกับคีร์กีซสถาน กลับไม่ปิด เพราะเราเห็นรถบรรทุกมาจากเส้นทางนี้ตลอดเวลา ทุกคนที่จะเดินทางต่อไปจีนติดอยู่ที่นี่กันหมด ไปไหนไม่ได้ ไปได้แค่ถึงชายแดนที่ยิ่งไม่มีอะไรเลย จริง ๆ เราจะเดินขึ้นเขาไปชมวิว ดูยอดเขาเลนินที่อยู่ติดชายแดนระหว่างคีร์กีซสถานและทาจิกิสถานก็ได้ แต่แค่เดินไปหาซื้อของก็เหนื่อยแล้ว เลยนอนพักผ่อนชมวิวจากหน้าต่างที่เกสต์เฮาส์แทน ที่ชายแดนปิดตั้งแต่วันพุธเวลา 18.00 น. และตั้งแต่วันพุธนั้นเราไม่สามารถไปไหนได้จนกระทั่งถึงวันอาทิตย์ที่เริ่มปั่นให้ใกล้ชายแดนเข้ามาหน่อย ช่วงที่เรารออยู่นั้นเป็นช่วงเวลาที่บางครั้งน่าเบื่อเมื่อคุยกันถึงตอนพลาดและความที่ไม่รู้ว่าเขาเปิดหรือปิดกันแน่ แต่ก็น่าสนใจเมื่อได้พบกับเพื่อนร่วมห้องที่คุยสนุกมีสาระ เริ่มมีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เพราะจากที่มีอยู่และไม่สามารถเดินทางต่อก็มีมาเพิ่ม บางคณะก็เดินทางกลับไปเมืองโอช ย้อนกลับไปอีก 180 กม.ส่วนเราก็ถือโอกาสพักผ่อน

ถนนที่เห็นเป็นทางไปทาจิกิสถาน ฝั่งตรงข้ามไปจีน ตรงไปกลับโอชของคีร์กิซสถาน

ถนนที่เห็นเป็นทางไปทาจิกิสถาน ฝั่งตรงข้ามไปจีน ตรงไปกลับโอชของคีร์กิซสถาน

สภาพหมู่บ้านซารีทัช พูดถึงก็ไม่ค่อยแย่ แต่ไม่มีอะไรให้ดูให้ทำนัก เดินขึ้นเขาอย่างเดียว ปั่นมาก็เหนื่อยละเลยขี้เกียจเดินขึ้นอีก ;-)

สภาพหมู่บ้านซารีทัช พูดถึงก็ไม่ค่อยแย่ แต่ไม่มีอะไรให้ดูให้ทำนัก เดินขึ้นเขาอย่างเดียว ปั่นมาก็เหนื่อยละเลยขี้เกียจเดินขึ้นอีก 😉

Restdays in Osh

Osh is the second biggest town in Kyrgyzstan and the country has decided to become a tourist destination and has taken away all the bureaucratic regulations that its neighbour Uzbekistan still maintains. This has led to a large influx of tourists and in Osh there are lots of nice restaurants and hotels.

Pizza and  a beer can never be wrong... :-)

Pizza and a beer can never be wrong… 🙂

We didn’t like the guesthouse we stayed at and since Osh is the midpoint on our trip between Göteborg and Bangkok we decided to celebrate this by stopping a little longer and stay at a better hotel than the guesthouse we checked in at the first night.

We can warmly recommend Eco House B&B in Osh

We can warmly recommend Eco House B&B in Osh

This little hotel was very nice. It was very quiet, had a nice lounge area, a lawn, an outside sitting area and wifi internet that was accessable from everywhere within the premises.
We spent the first few days just relaxing and only left the hotel to have dinner with our friends who still stayed at the backpacker guesthouse we stayed at the first night.

Lounge area

Lounge area

One afternoon a french-malaysian couple checked in at our hotel. They had been trecking in the mountains in the south of Kyrgyzstan and would stay one night in Osh before going home. The french guy is a chef and runs two french restaurants and a cooking school in Kuala Lumpur while the wife is a writer for a cooking magazine in Malaysia. Having had only simple food during their two week long trek they wanted some proper food and asked to borrow the hotel’s kitchen and offered us to help in cooking and share their meal.
It was wonderful to see professionals at work and the steak and the kidneys fried with pepper and paprkika tasted wonderful.

Pro's in action...

Pro’s in action…

The city of Osh doesn’t have very many tourist attractions apart from its bazar. We went there to buy some rope to tie our bikes on a truck when entering China (it is forbidden to cycle through the noman’s land and we will need to get on a truck).

At the bazar

At the bazar

In the bazar it is possible to find almost everything, even cycle parts…… But they are not of the latest standard and this is why many touring cyclists prefer to use old components of older standards instead of the newest which can’t be find in places like this.

A very interesting section of the bazar

A very interesting section of the bazar

We also spent some time to do a thorough maintanence of our bikes. We took off chains, cassettes and chainrings and cleaned them carefully. Our clothes also liked to get a proper wash in a washing machine instead of the rinse in a sink somewhere they lately have got used to….

Kyrgyzstan doesn’t require us to have visas and without feeling any pressure from the visa clock we decided to postpone our departure from Osh with one day because we simply felt we wanted to stay longer. Instead of leaving on Sunday we would leave on Monday but that wouldn’t cause any problem. It was a three day ride to the chinese border and our new plan was to enter the country on Thursday. The border is closed during weekends but our plan to arrive to the border on a Thursday would give us plenty of backup time in case something would slow us down.

Having dinner with Bartek from Poland whom we have cycled with since Baku

Having dinner with Bartek from Poland whom we have cycled with since Baku

Day 92-95 (Fergana valley)

Day 92 Olmaliq – mountains east of Angren
It is a late Sunday evening and I am sitting in the garden in our little B&B in Osh, the second largest city in Kyrgizstan. Today has been a nice day with some clouds and cool temperatures (still above 30 though). This evening we enjoy a cool breeze that makes the leaves of the trees in the garden tremble and in the afternoon we even enjoyed a light summer rain. Tomorrow is our cycling day and we hope this kind of nice and cool weather will keep us company on our journey up to the Kyrgiz mountains.

So how did we get here?

Uzbekistan is a country we only planned to visit for a few days but since we couldn’t go through Iran due to the presidential elections we had to re-route and take the ferry across the Caspian Sea and then cycle across Uzbekistan from the very west to the very east. It turned out to be 2068 km and Uzbekistan is the country that we have cycled most kilometers in so far and it has been an interesting experience I will later write a separate article about.

Uzbekistan has large deserts but after we left Samarkand we were in densely populated areas. We traveled through the cotton areas around Yangiyer and Gulistan and passed Olmalia which is a town of heavy and dirty industry.

Just as in the former Soviet union Uzbekistan still requires foreign tourists to register every 3 days and this is an issue that lessens the joy of traveling in this wonderful country. When we left Samarkand I was tired after pressing hard for almost four consequtive weeks and I needed a rest, but since our Uzbek visa was running out we couldn’t afford to stop for any more days and had to press on in order to get out in time.

Soviet style sculptures at the exit of Olmaliq

Soviet style sculptures at the exit of Olmaliq

I was tired and exhausted in Olmaliq and to be honest I was a bit worried about my ability to continue according to our plan. When we left Olmaliq I immediately felt that my legs were not up to the task of riding long distances. There was no pain or muscle ache in my legs but I felt they were stiff and powerless so we could only progress slowly.

The Fergana valley is a small but important part of Uzbekistan and there is only one road leading to it across a high mountain pass. As soon as we got out of Olmaliq city and onto the highway towards the Fergana valley the intensity of the traffic grew significantly. I was not in the mood for anything and just kept pedalling behind Wej to make the kilometers pass as smooth as possible.

It was not very far to the town of Angren, only some 55 km from Olmaliq but whithout power in my legs it felt like it would be closer to the moon. Some 10 km before the town a car pulled up beside us and the guys inside wanted to chat. I was extremely exhausted and were not in the mood for talking so I went to the side and let Wej take care of the talking. We didn’t stop but Wej managed to have a conversation as we cycled beside the car and it ended with the guy in the passenger seat handing over a handful of peaches. After the car left we stopped and ate those God sent peaches. The strenght we got from those sweet fruits only lasted a few kilometers and when I saw a bus stop I just had to stop and get a rest. After sleepting on the narrow seat of that bus stop for about 45 minutes I felt I had got my strenght back and we could ride into Angren without problem.

Taking a nap at a bus stop

Taking a nap at a bus stop

40 km beyond Angren there is a massive climb up to 2200 meters and our aim was to find somewhere to stay that was not far from the start of the climb. But how to do that when completely out of power?

We were hungry when we cycled into town but we didn’t stop at the very first eatery. When we finally stopped for lunch we chose a place where we could both eat and enjoy an afternoon nap. The restaurant had no menu and we opted for the simple solution and ordered something we knew – a ”lagman” which is a traditional noodle soup.

We have had Lagman many times before and they are neither good or bad. It is a simple noodle soup with meat, noodles and vegetables. But at this place we got something different. The noodles were not served as a soup but more like a spagetti dish with only a little liquid at the bottom of the plate. We also got a little side dish with a brown-red paste that we didn’t know what it was but we put it on the noodles and……… wow…….. 🙂

Lagman or khao soi?

Lagman or khao soi?

That paste was a chilli paste and it was very spicy and did lift the experience of the lagman to a new dimension. With that side dish of chilli the lagman actually turned out to be very similar to ”khao soi” which is a traditional dish in northern Thailand. The lagman-khao soi lunch brought our spirits back and Wej enjoyed it so much that she even ordered a second plate. Wej also carefully noted what that chilipaste dish is called in Uzbek in order to be able to order it again later on.

Happy again after some rest and lagman with Chiang Mai style chilli paste

Happy again after some rest and lagman with Chiang Mai style chilli paste

We were heading towards the Fergana valley which is a politically sensitive are that has seen heavy and deadly military crackdown on riots that have caused Sweden and most other western countries to issue warnings against unnecessary travel in the valley. However, travelers we meet keep telling us that people in the Fergana valley are even more hospitable than in the rest of the country so we continued towards it with high expectations.

Between us and our high expectations of the Fergana valley stood a tall mountain range. We didn’t want to climb it the same day but we wanted to get as close to the start of the climb as possible. Due to the political unrest the single road to the Fergana valley passes two military check points where we as foreigners had to register. It was not any big issue and the soldiers where very friendly and since it was already late they invited us to pitch our tent on the little lawn in front of their office. We thanked them for their kind offer but told them we had to go and eat at the restaurant a kilometer down the road and then maybe come back.

We have been to similar situations before and we know what to expect. Once the soldiers are off duty they will start to drink and ask to try our bikes which is something we never let anyone do. Riding fully loaded bike is difficult and it is easy to fall and break some parts that we will have troubles to find replacements for.

Our dinner and rest place

Our dinner and rest place

When people ask to try our bikes we politely decline, but how to do decline when a guy carrying a Kalshnikov asks??? Besides this it was still to early to camp so we decided to proceed further and some 15 kilometers later we found a tea house that was clinging on the rock next to the river. We ordered some food and asked if we could stay for the night and just like everywhere else in Uzbekistan the answer was yes. After having a bath in the river below the restaurant we quickly fell asleep on the same platform as where we had eaten our dinner.

The beach below the restaurant where we had our evening bath

The beach below the restaurant where we had our evening bath

Day 93 Mountain pass – Kokhand
Today was a mountain stage and the climb started only 8 km after we left the restaurant where we had slept the previous night. The weather was pleasant and although it was warm it was far from the intense heat below the mountains.

We still were suffering from the previous days of hard riding and thus we climbed very slowly in order to preserve our strengths. There are tea houses and vendors selling drinks all the way and we stopped at a few of them to rest and drink.

Resting and having something cold to drink while chatting with the locals

Resting and having something cold to drink while chatting with the locals

There are lots of military posts along the way up to the mountains and all of them had clear signs telling that photographing was forbidden. As mentioned earlier – we avoid playing with guys carrying Kalashnikovs – so there are very few photos from this part of the trip.

The road we were traveling on is the only road that connects the Fergana valley to the rest of the country and thus there is a lot of the traffic there and one thing was sure and that was the we were the ones who moved up most slowly that day. Endless number of trucks overtook us.

Up up up up up with a view of snowcapped mountains in the background

Up up up up up with a view of snowcapped mountains in the background

One car that overtook us stopped in front of us and wanted to talk. It turned out to be a Malaysian family on a ”half-around-the-world-trip” who now were heading to China. We have previously met European car tourists, but now when we are half ways they seem to be coming from the other direction too. It was great fun to meet someone from a neighbouring country, talk for a while and exchange experiences.

At the top of the climb there are two tunnels that saved us a few more hundred meters of climbing. In front of the first tunnel there were soldiers checking our passports and in the other end there were another soldier, but he didn’t bother to check them.

Talking to the Malaysian family

Talking to the Malaysian family

The top of the pass was just between the two tunnels and once outside the second our time as the slowest vehicles on the road was up. Cruising at +50 km/h we flew past the long row of heavy trucks that had to descent down the mountain using their lowest gears. It is not who is quickest up that counts….. it is quickest up AND down…. 😉

After 50 km of not needing to pedal the road finally evened out. The heat was back and two hours before entering Kokhand we experienced a sensational strong heat. The road was newly made and still completely black and we felt a strong heat radiating from below, just like when sitting too close to a fire. Since we were still rolling downhill at high speed it was only uncomfortable, but if we would have been riding the other directions it would have been completely impossible to pass that section since it felt like the road below us was burning.

As soon as we stop somewhere we are quickly surrounded by people. Here Wej is in the center of everybody's attention

As soon as we stop somewhere we are quickly surrounded by people. Here Wej is in the center of everybody’s attention

Day 94 Kokhand – south of Andijon
It is 170 km from Kokhand to Osh and that could be doable in a day, but not if also crossing a central asian border so we decided to cycle to somewhere beyond Andijon in order to be close to the border.

We had checked in to Hotel Kokhand in order to get our last registration slip. When asking for it before going to bed they said thay we would get it in the morning which we accepted if they could it to us at 7 o’clock which they promised. The next morning the very same guy asked us if we had got our registration slips……

The stamp was locked in the hotel’s office safe and he didn’t have the key. He told the manager would come and open it in 2 minutes, 5 minutes, 1 minute and so on. The manager came at 7.50 and opened the safe so that we could get our slips stamped. We cursed this soviet style hotel since we now had lost one hour of cycling which on a flat road like the one crossing the Fergana valley means loosing 25 km or one more hour in the striking afternoon heat.

Some men having breakfast at a tea house

Some men having breakfast at a tea house

We managed to do 85 km before the heat struck and we had to seek refuge at a tea house beside the road where we stayed for two and a half hours.

After having left the tea house and cycled through a village we saw a van coming up beside us. The guy in the passanger seat asked if we wanted icecream and showed two icecreams. First we thought they were icecream vendors, but when we stopped they just gave us the icecreams, said good luck and turned around and drove back to the village. Amazing hospitality in an area that is supposed to be dangerous….

Andijon is a big city and it usually takes long time to cycle in and out of big cities so we decided to go around it to find a tea house where we could sleep. Half an hour before sunset we stopped outside one and soon we were surrounded by people and one old man stepped forward and started to talk slowly in English. He asked were we were going to stay and when we replied we didn’t know he suggested we stay at the tea house (our tactic worked once again).

The old man followed us into the tea house and we sat down to talk. He was accompanied by a young boy that turned out to be his 12 year old grandson. The boy spoke basic but good English and since he wanted to practice his English he talked a lot. The old man told us he was 75 years old, used to be an radio engineer and lived 300 meters from the tea house. The man and the boy joined us when we had our dinner and told us they would come back the next morning.

The old man and his grandson

The old man and his grandson

We had hoped we could sleep on one of the outdoor eating platforms, but the manager then offered us to sleep in one of the private dining rooms. He thought it would be too cold outside, but sleeping in the dining room turned out to be like sleeping in a sauna…. The hospitality shown to us is amazing – it is like being back in Turkey again.

The private dining room where we stayed

The private dining room where we stayed

Day 95 Andijon – Osh
Knowing that we only had 40 km to Osh we didn’t even set our alarm clock, but we woke up at 6.30 anyway. When we got out of our room the staff was busy preparing the food and we enjoyed watching the chefs as they prepared the various dishes to be offered that day. They tried to explain what they did but once again the language barrier made it difficult for us to understand.

Chef at work

Chef at work


We decided to have spicy khao soi-looking lagman for breakfast and when as we were finishing our meal the old man and the boy came back and offered us to come over to their house to have coffee. It is always interesting to be invited to people’s houses and we had plenty of time so we accepted the invitation.
Baker at work

Baker at work

The house was actually two houses with a lovely garden with grapevines and fruit trees in between. We had coffee, bread, biscuits and I got some home made wine as a second breakfast. It was clear that both the old man and his grandson enjoyed to practice English and after a while the boy’s sister joined in and she was also good at English. It seems that this family is really focused on learning foreign languages.

Grapes in the family garden

Grapes in the family garden

After spending about 1.5 hours at the family’s house we finally left for the border. Since it is forbidden to bring out the local currency we had to stop at a shop close to the border to buy whatever they had that we might need. We ended up with coke, icecream, a new soap, some socks and a pen.

At the border it was extremely crowded and there was a long que to even get into the border area. We didn’t line up among the people, but went in the line for trucks and rode up to the front of the line. A soldier saw us and let us through into the border control area without having to wait in that long line.

The uzbek family who invited us to a second breakfast

The uzbek family who invited us to a second breakfast

There were many more lines to wait in. First line was to the customs to declare all our valuable belongings and foreign currencies. We saw a french backpacker couple in the front of the line and when an official took them aside, we quickly jumped the que and joined them.

Next que was to have our baggage X-rayed. We only x-rayed our handlebar bag since the bikes and the bikes wouldn’t fit thew x-ray machine and would have to be inspected manually.

After declaring the foreign currencies and getting our bags x-rayed it was time to line up in the long line for passport inspection. An official saw us and the french couple and came and told us to join him. He then put us at the front of the line and we got our passports stamped without even being asked to provide any of those registration slips we have worked so hard to get.

Documents needed to exit Uzbekistan

Documents needed to exit Uzbekistan

We were then released to go to Kyrgiz side of the border. Kyrgizstan has decided to become a country for tourists and got rid of all ridiculous visa requirements. We simply showed our passports to the official and 1 minute later we were through.

We spent about one hour at the Uzbek side of the border and one minute on the Kyrgiz side. If we had waited in all those lines it would definately have taken a full day to pass and we felt a bit guilty as we past the people that had been waiting for hours. It didn’t feel fair, but we didn’t oppose being treated as VIP:s.

It is only 7 km from the border into downtown Osh and we went to a guesthouse where backpackers usually stay. At the guesthouse we once again met the polish and german cyclists we have been cycling with before and we went out to have dinner together with them.

Unfortunately it was extremely hot in the guesthouse so the following morning we decided to move to a better place with airconditioning.

อุซเบกิสถาน => จาก Samarkand (ซาร์มาคัน) ผ่าน Fergana Valley (เฟอร์กานา วัลเล่)

บล๊อคนี้อาจจะยาวหน่อย เพราะสะสมมาหลายวัน (อีกแล้ว) ขอสรุปตั้งแต่ปั่นออกจากซาร์มาคันผ่านทางสวยเข้าจิสสัค Jizzakh – ปั่นหลงไปยางกิเยอ Yangiyer – เข้าเขตอุตสาหกรรมที่โอมาลึค Olmaliq – ผ่านเข้าไปเขตเฟอร์กานา วัลเล่ Fergana Valley เข้าเมืองโคคัน Kokand – อันเกรียน Angren และอดิจอน Adijon ที่มีภูเขาล้อมรอบ

เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม เราได้ประทับตราออกจากประเทศอุซเบกิสถาน ผ่านชายแดนเข้าประเทศคีร์ซกิสถาน อุซเบกิสถานเป็นประเทศที่ยาวพอ ๆ กับสวีเดน พูดถึงเราและบาเทคเพื่อนคนโปแลนด์เป็นส่วนน้อยที่ปั่นจากชายแดนด้านตะวันตกตัดมาถึงชายแดนด้านตะวันออกผ่านเขต “เฟอร์กานา วัลเล่” ซึ่งเป็นเขตทีี่มีเรื่องการเมืองกระทบกระทั่งกันบ่อยเพราะเป็นเขตติดชายแดน เหมือนภาคใต้บ้านเรา และด้วยระยะทางทั้งหมดประมาณ 2000 กม. เราใช้เวลาปั่น 18 วัน (นับเองยังตกใจ เท่ากับเราปั่นกันวันละร้อยนิด ๆ) และพักอีก 10 วัน รวม 28 วันที่อยู่ในประเทศอุซเบกฯ นานพอ ๆ กับตอนที่ปั่นในตุรกีเลย เรื่องปั่นไม่ใช่ปัญหาใหญ่สำหรับเราถึงแม้ว่าจะร้อนขนาดไหน แต่เรื่องที่เราต้องหาโรงแรมเพื่อลงทะเบียนทุก ๆ 3 วันนี่สิ ทำให้เรารู้สึกตึงเครียด เพราะระยะทางตั้งแต่ชายแดนระหว่างคาซัคสถานและอุซเบกิสถาน เราต้องปั่นผ่านทะเลทรายประมาณ 500 กม. ปั่นภายใน 3 วัน กว่าจะถึงเมืองที่มีโรงแรมและที่มีใบอนุญาติลงทะเบียนให้กับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้ และอีกหลาย ๆ ครั้งที่เราต้องคอยเช็คและถามคนท้องถิ่นตลอดเวลาว่าเมืองนั้น ๆ มีโรงแรมมั้ย? ลงทะเบียนได้มั้ย? นี่คือเหตุผลหลักที่ทำให้เราไม่รู้สึกผ่อนคลายกับการเดินทาง และอีกอย่างคือตำรวจและทหารที่นี่ขึ้นชื่อว่าคอร์รัปชั่นมาก ๆ ก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ทำให้เราเป็นกังวลเวลาปั่นผ่านด่านตรวจ แต่เราก็ยังไม่เคยเจอตำรวจที่ไม่น่ารักนะ มีแค่ครั้งหนึ่งที่ต้องผ่านด่านของทหารในเขตเฟอร์กานา วัลเล่ มีทหารนายหนึ่งเห็นถุงมือปั่นจักรยานของเวช เขาทำท่าเหมือนขอดู แต่ดันจะลองใส่ จะบ้ารึ? มือเราเล็กนิดเดียว (ถ้าเปรียบเทียบกับมือเขา) ส่วนมือเจ้าทหารนั่นใหญ่อย่างกับใบลาน ตอนนั้นไม่สนละว่าใครเป็นใคร ดึงถุงมือกลับมาเลย นายนั่นยังบอกให้เราไปกินข้าวกันก่อนแล้วปั่นกลับมากางเต้นท์นอนแถวด่านก็ได้ เพราะเขามีสนามหญ้า เชอะ!! จ้างให้ก็ไม่กลับไปหรอก ไหนจะต้องปั่นย้อน แถมขึ้นเขาอีก และเราไม่คิดว่าที่นั่นจะปลอดภัยมากกว่าร้านน้ำชาร้านอาหารข้างทางได้หรอก!!! ถ้าถึงขนาดเอาถุงมืออันเล็กนิดเดียวไปลองใส่มีหวังได้ขอโน่นขอนี่ขอลองปั่นจักรยานของโจคิมแน่ถ้าเรากลับไป ทั้งทริปในอุซเบกฯ ก็มีแค่นายคนนี้แหละที่ทำให้เรารู้สึกไม่ค่อยดี

เวชคิดว่าเหตุการณ์เหล่านี้ สภาพอากาศและความตึงเครียดที่ทำให้เราฟิวส์ขาด พอหลังจากที่เราปั่นข้ามทะเลทรายที่คาซัคฯ 500 กว่าโล ปั่นกัน 5 วันครึ่ง ต่อด้วยทะเลทรายที่อุซเบกฯ เกือบ 500 โลปั่นกัน 3 วันเต็ม ๆ วันแรก 120 โล วันที่สอง 190 โล วันที่สาม 150 โล ที่ต้องปั่นภายใน 3 วันก็เพราะเรื่องลงทะเบียนอย่างที่เล่าให้ฟังข้างต้น ที่คาซัคฯเขาไม่เข้มงวดเท่าที่อุซเบกฯ หลังจากนั้นระยะทางที่ปั่นไปคีวา บูคารา ซาร์มาคัน ก็มีทะเลทรายมาคั่นรายการตามทางประมาณ 20-30 กม. เตือนความทรงจำบ่อย ๆ แต่เท่าที่ปั่นในทะเลทราย มีแต่ความร้อนเท่านั้นที่เตือนว่าเราปั่นอยู่ในทะเลทราย แต่สภาพแวดล้อมยังไม่ใช่ทะเลทรายอย่างที่เคยจินตนาการ อยากเห็นทะเลทรายที่มีแต่ทราย แต่เท่าที่ผ่านมาจะเห็นพุ่มไม้ ต้นไม้เตี้ย ๆ หวังว่าคงได้เห็นที่จีน

เป็นทะเลทรายผสมมีพุ่มไม้เล็ก ๆ คือยังไม่ใช่ทะเลทราย 100% มีแต่ความร้อนที่ทำให้รู้ว่ายังงัยมันก็คือทะเลทราย

เป็นทะเลทรายผสมมีพุ่มไม้เล็ก ๆ คือยังไม่ใช่ทะเลทราย 100% มีแต่ความร้อนที่ทำให้รู้ว่ายังงัยมันก็คือทะเลทราย

มาถึงคีวาเรายังมีสภาพที่ค่อนข้างโอเค พักตามที่เราเคยวางแผน ปั่นออกมาจากคีวาไปบูคารา มีทะเลทรายแซม ๆ บ้าง ร้อนสุด ๆ เพื่อนคนนิวซีแลนด์ไม่ไหวต้องโบกรถ ส่วนเราก็พยายามปั่นกันมาให้ถึงภายใน 3 วัน ที่บูคารานี่เอง เราเริ่มมีอาการหมดเรี่ยวหมดแรง ตั้งใจว่าจะพัก 3 วันแต่กลายเป็น 4 วันเพราะโจคิมเริ่มมีอาการเจ็บที่กล้ามเนื้อ เขาเคยมีอาการอย่างนี้มาก่อนเมื่อตอนที่เรามาถึงบูคาเรสต์ แต่พอเริ่มปั่นอาการนั้นก็หายไป แต่วันนี้ที่บูคารา เราลองปั่นออกไปเผื่อว่าอาการจะหายไป อ่า…เปล่าค่ะ ยังเจ็บและเจ็บแบบต่อเนื่อง เราเลยปั่นกลับมาที่เกสต์เฮาส์ขออยู่ต่ออีกเพื่อดูอาการ และติดต่อกับเพื่อนทั้งสองคน สองคนนั้นแหละที่เคยเมลย์ไปถามเขาตอนที่เวชเจ็บหัวเข่า มีเพื่อนเป็นหมอก็ดีเช่นนี้แล สอบถามโดยตรงได้ 😉 ทั้งสองคนบอกให้พักผ่อน คาดว่ากล้ามเนื้อถูกใช้งานหนักไปหน่อย กินยาและเอาผ้าพันไว้คืนหนึ่ง ได้ผลนะ วันรุ่งขึ้นอาการดีขึ้นเยอะ แต่ยังรู้สึกตึง ๆ ที่กล้ามเนื้อส่วนนั้น เราพยายามจอดเพื่อยืดกล้ามเนื้อเหมือนคราวที่เวชเจ็บเข่า ครั้งนี้ก็เหมือนกัน แล้วเราก็สามารถดิ้นรนปั่นต้านลม ขึ้นเนิน สมบุกสมบันกับถนนที่แย่ ๆ เป็น 10 โล จนมาถึงซาร์มาคัน และที่ซาร์มาคันเราจะพักกัน 3 วัน แต่กลายเป็น 5 วัน เพราะเช้าวันที่จะออกเดินทางต่อท้องไส้โจคิมเริ่มปั่นป่วน เอ..ชักไม่ดี ส่วนเวชไม่รู้เป็นอะไร พอได้หยุดทีไรจะรู้สึกตัวบวม ๆ โดยเฉพาะขาและเท้า มันบวมเป่งเลยแหละ รู้สึกแน่น ๆ เหมือนมีใครมาเป่าลมเข้าไปที่เท้า นี่น่าจะเป็นสัญญาณเตือนเรา ว่าร่างกายเราเริ่มไม่ไหวอยากพักผ่อนมากขึ้นหรือเปล่า? แต่เรายังไม่สามารถพักนานได้ เพราะเรื่องวีซ่าที่เรามีเวลาจำกัดและไม่สามารถต่ออายุได้ จึงเปลี่ยนแผนการเดินทางใหม่ โดยค่อย ๆ ปั่นไม่รีบร้อน ออกกันเช้าหน่อย พักตอนที่ร้อนจัด ๆ และช่วงนี้คือเราเริ่มปั่นกันเองสองคน เพราะฉนั้นเราไม่ต้องคอยนัดกับใครหรือรอใครหรือตามใจใคร กลุ่มเราเริ่มแยกกันไปที่ซาร์มาคันนั่นเอง ทุกคนจะเดินทางต่อไปประเทศทาจิกิสถาน พาร์มีไฮเวย์ มีแต่บาเทคคนโปแลนด์ที่ปั่นล่วงหน้าไปก่อนเรา

จิสสัค (Jizzakh)

เส้นทางที่จะปั่นไปจิสสัค สวยมาก ได้ชมวิวทิวทัศน์ที่แปลกตาไป

เส้นทางที่จะปั่นไปจิสสัคส์ สวยมาก ได้ชมวิวทิวทัศน์ที่แปลกตาไป

กว่าเราจะร่ำลากับเพื่อน ๆ ที่ปั่นกันมานานกว่า 6-7 อาทิตย์ รู้สึกเหมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน ช่วยเหลือกันช่วงที่ปั่นข้ามทะเลทราย เศร้านิด ๆ มีพบก็ต้องมีจาก เราติดต่อกันทางเมลย์เวลาที่ใครมีข้อมูลใหม่หรือเจอะเจอกับเพื่อนที่แยกย้ายกันไปก่อนหน้านี้ก็จะส่งข่าวบอกกัน และหวังว่าสักวันหนึ่งเราคงจะมาพบปะกันหลังจากจบทริป คงจำกันไม่ได้ถ้าไม่ได้ใส่ชุดสำหรับปั่นจักรยาน เพราะเสื้อผ้าที่เราปั่นนั้น ไม่ค่อยมีให้เปลี่ยนบ่อยนัก

เกือบจะ 11 โมงก็ได้เวลาออกจากเกสต์เฮาส์ แดดเริ่มร้อน ลมเริ่มแรง ดีที่แรงโจคิมกลับมาเหมือนเดิม เลยปล่อยให้ลากไป เพราะลมพัดแซกหน้ามาเลย เราค่อย ๆ ปั่นไปเรื่อย ๆ ปั่นมาได้แค่ 8 กม.แวะกินข้าวเที่ยง ยืดกล้ามเนื้อและดื่มน้ำ เวลาเราจอดเข้าไปที่ร้านซื้อน้ำสั่งอาหาร เราจะกลายเป็นตัวประหลาดไปทันที แล้วอีกสักพักคนก็กรูกันเข้ามา ถามคำถามเดิม ๆ ที่เราได้ยินมาตั้งแต่เข้าคาซัคสถานเลยว่า มาจากไหน จะไปไหน???? จากที่ไม่เข้าใจคำถาม จนเดากันออกว่าเขาหมายถึงอะไร 😉

คนตรงกลางคือแม่ค้า วัยรุ่นนะมี give me five ด้วยอ่ะ อายุน้อยกว่าเวช 2 ปีคนที่นี่เขาชอบถามเรื่องอายุกัน

คนตรงกลางคือแม่ค้า วัยรุ่นนะมี give me five ด้วยอ่ะ อายุน้อยกว่าเวช 2 ปีคนที่นี่เขาชอบถามเรื่องอายุกัน

มีช่วงหนึ่งที่เรากำลังปั่นขึ้นเนินที่ลาดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ เห็นรถคันหนึ่งจอดอยู่ข้างทาง ทักทายกันโดยที่เราไม่หยุดจอด สักพักรถคันเดิมขับมาชลอข้าง ๆ เรา เมินเขามาทีนึงละเลยคุยกับเขาเสียหน่อย เนินนั้นก็ยังลาดขึ้นอย่างต่อเนื่อง คุยไปคุยมา ข้าพเจ้าเริ่มเหนื่อยนะเว้ย เลยเงียบไป เขาคงรู้เลยยื่นผลไม้มาให้ มือเดียวเลยรับมาได้ 2 ลูก แต่ 2 ลูกนี้ก็เพิ่มพลังให้เราปั่นไปได้อีกหน่อย

นักท่องเที่ยวจากมาเลเซีย จอดคุยทักทายกัน

นักท่องเที่ยวจากมาเลเซีย จอดคุยทักทายกัน

อีกครั้งหนึ่งที่ประทับใจมาก คือรถตู้ขับความเร็วปกติ แล้วมาชลอข้างเรา เขาไม่ได้ถามอะไรเลย แต่มีมือยื่นไอติมออกมา 2 ถ้วย เราปฏิเสธ ไม่อยากหยุดเพราะเริ่มมองหาที่พักกัน เขาตะโกนกลับมาว่านี่ซื้อมาให้ (เดาเอา) จ้า..ขอบคุณค่ะ พอเรารับไอติมมาแล้ว ก็เห็นว่ารถตู้กลับรถและขับกลับไป โห..นี่เขาตั้งใจซื้อไอติมมาให้เราโดยเฉพาะจริง ๆ หรือนี่ เหตุการณ์นี้ยังไม่เคยเกิดขึ้นที่ตุรกี ทั้ง ๆ ที่คิดว่าคนตุรกีน่ารักสุด ๆ แล้วนะ เราชอบเวลาที่คนอุซเบกฯ ทักทายเราจากรถใหญ่รถตู้ โอเค..เขากดแตรเหมือนประเทศอื่น ๆ แต่การแสดงออกของเขามันทำให้เราสดชื่นและมีกำลังใจ เพราะหลังจากที่เขากดแตร เขาจะยกนิ้วให้ โบกมือให้ หรือไม่ก็เอามือประสานกันแล้วยกขึ้นเหนือหัวและยิ้มกว้าง ๆ ไปด้วย

ความเยือกเย็นของไอติมที่กำลังต้องการ

ความเยือกเย็นของไอติมที่กำลังต้องการ

เราเช็คแผนที่ในกูเกิ้ลมันบอกให้เราตรงขึ้นเขาไปเมืองจิสสัค แต่พอเราไปถึงตรงจุดนั้น เห็นป้ายบอกให้เลี้ยวขวาลอดใต้สะพานทางหลวงไปจิสสัค ว้าว..ดีใจ เพราะทางเขานั่นชันเชียวแหละ พอเลี้ยวเข้าเส้นทางไปจิสสัควิวเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง เรียบแม่น้ำ มีภูเขาสองข้างทาง เราปั่นเข้าเมือง ปั่นเพลินเข้าผิดเส้นทางเลยหาโรงแรมที่นักปั่นชาวสวิสฯ เคยบอกให้มาพักไม่เจอ เราเข้ามาลึกไปหน่อย เลยมาเจออีกโรงแรมหนึ่ง ระดับ 3 ดาวในเมืองเล็ก ราคาแพงกว่านิดหน่อย ยิ่งพอมาเห็นห้อง ยิ่งรู้สึกพอใจ คุ้มจริง ๆ มีห้องน้ำที่ไม่เปียก น้ำไหลตามปกติ กระดาษทิชชู่นุ่ม ๆ มีสบู่ยาสระผมให้ แถมมีทีวีที่มีช่องภาษาอังกฤษด้วย วันนั้นเราเลยได้ฟังรายงานข่าวเกี่ยวกับ ”สโนเดน” ที่ออกมาแฉความลับของเมกา ขณะที่เขียนอยู่ยังคงติดค้างอยู่ในสนามบินที่รัสเซีย รายงานซ้ำไปซ้ำมา ปิดไปดีกว่า

ด้านในโรงแรมสามดาว แทบจะไม่อยากจะออกจากห้องกันเลย

ด้านในโรงแรมสามดาว แทบจะไม่อยากจะออกจากห้องกันเลย

ยางกิเยอ (Yangiyer)

กินอาหารเช้าที่โรงแรมเสร็จเราก็ออกเดินทางต่อ ใช้เวลาอยู่เหมือนกันนะในการหาทางเข้า-ออกแต่ละเมือง หาทางถามทางกันมาเรื่อย ปั่นมาเจอตลาดศูนย์รวมทุกอย่างละมั้ง ถ้าไม่ติดอะไรไม่เคยคิดว่าจะจอดในสถานที่ที่มีคนพลุกพล่านเยอะแยะ ไม่ใช่ว่ากลัวอะไร แต่รู้ว่าหยุดเมื่อไหร่ ชาวบ้านก็จะเข้ามาทีละคนสองคนสามคน จนกระทั่งเราอยู่ในวงล้อมพวกเขา

”อุชเบกฯมุง” มุงคนประหลาด การปั่นจักรยานเป็นการเดินทางที่ค่อนข้างซอกแซก เราใช้เส้นทางเล็ก ๆ รอง ๆ ลงมา ทำให้เข้าถึงคนท้องถิ่นได้ง่าย

”อุชเบกฯมุง” มุงคนประหลาด การปั่นจักรยานเป็นการเดินทางที่ค่อนข้างซอกแซก เราใช้เส้นทางเล็ก ๆ รอง ๆ ลงมา ทำให้เข้าถึงคนท้องถิ่นได้ง่าย

ตรงนี้จำเป็นต้องหยุดเพื่อแลกเงิน ที่อุซเบกฯ นี่ถ้าเอาเงินไปแลกที่แบงค์จะได้น้อยกว่าที่ตลาดมืดตั้ง 30% เลยลองแวะเข้าไปถาม แลกไป 50 ดอลลาร์ ได้มา 135000 ซอม

ตรงนี้จำเป็นต้องหยุดเพื่อแลกเงิน ที่อุซเบกฯ นี่ถ้าเอาเงินไปแลกที่แบงค์จะได้น้อยกว่าที่ตลาดมืดตั้ง 30% เลยลองแวะเข้าไปถาม แลกไป 50 ดอลลาร์ ได้มา 135000 ซอม

ดูจากแผนที่ที่เราเช็คมา ปั่นบนทางหลวงน่าจะไวกว่าและถนนน่าจะดีกว่าถนนเส้นรอง พอเราเห็นป้ายให้เลี้ยวขวาไปเมืองกุลลิสตัน (Guliston) ที่เราตั้งใจไว้ อ้าว..เห็นป้ายบอกทางให้เลี้ยวเราก็เลี้ยวสิ แต่พอเลี้ยวปุ๊บ รู้สึกไม่แน่ใจขึ้นมาทันที ลองถามคนเขาก็บอกว่าใช่ อ้าว..ใช่ก็ไปต่อ ปั่นต่อมาก็เห็นป้ายบอกให้เลี้ยวซ้าย เลี้ยวปุ๊บถนนเริ่มแย่แต่ก็แค่ช่วงสั้น ๆ เราพลาดเลี้ยวซ้ายสุดท้าย เลยไปไม่ถึงเมืองกุลลิสตันที่ตั้งใจไว้ อ้อมไปเมืองยางกิเยอแทน 50 กว่าโล หงุดหงิด เพราะเราเคยคุยกันว่าถ้ามีเวลาเราอาจจะปั่นเลยเมืองกุลลิสตันไปเพื่อให้ได้ระยะทาง ช่วงนี้เราต้องเร่งนิดหน่อยเพราะเหลืออีกแค่ 7 วันก่อนที่วีซ่าจะหมดอายุ เราไม่อยากจะไปอยู่ที่ชายแดนระหว่างอุซเบกิสถานและคีร์ซกิสถานในวันที่มันหมดอายุพอดี เผื่อไว้หน่อย เกิดเหตุขัดข้องจะได้มีเวลาเหลือ

ในแผนที่มีหลายเส้นทางที่สามารถปั่นไปเมืองกุลลิสตัน คือเมืองที่อยู่มุมขวามือของแผนที่

ในแผนที่มีหลายเส้นทางที่สามารถปั่นไปเมืองกุลลิสตัน คือเมืองที่อยู่มุมขวามือของแผนที่

พอปั่นออกมาจากถนนเส้นรองจะเข้าถนนใหญ่ เราเห็นรถยนต์จอดอยู่ข้างทางเลยคิดว่าไปถามดูหน่อยว่าอีกกี่กิโลถึงเมืองกุลลิสตัน เพราะถ้าไม่ไกลมาก เราอาจจะฮึดขึ้นมาแล้วปั่นต่อไปอีกหน่อย แต่พอเข้าไปใกล้อีกหน่อย ปรากฎว่าที่เบาะหลังรถ เห็นผู้หญิงกำลังก้มหน้าก้มตาจุ๊บ ๆ กับผู้ชายที่เธอนั่งอยู่บนตัก อ้าว..เวรกรรม ท่าจะไม่ดี ไม่อยากไปเป็นก้างขวางคอเขา เลยปั่นต่อไป นี่ถ้าไม่เริ่มเย็นจะไปนั่งแอบดูอยู่อีกฝั่งหนึ่ง เรามีกล้องส่องทางไกลมาด้วยนิ มีประโยชน์ก็ตอนนี้ เฮ้อ..แต่ก็ไม่ได้ใช้อยู่ดี อิอิ ปั่นต่อไปขึ้นสะพานแยกเข้าถนนใหญ่ เห็นมีอีกคันหนึ่งแต่คันนี้จอดลึกเข้าไปจากข้างทางหน่อย ทำให้ไม่สามารถมองเห็นได้ว่าในรถนั้นมีกิจกรรมเหมือนกับคนแรกหรือเปล่า ไม่รู้ว่าเป็นหนุ่มสาวที่ไม่สามารถหาที่ที่เป็นส่วนตัวได้หรือแอบใครที่บ้านมามีอะไรกับใครคนอื่น!!! แหม…เกือบได้ดูหนังสดสะแล้ว

อีกด้านหนึ่งของสะพานนี่คือที่ที่เราเห็นรถยนต์จอดอยู่ข้างทางที่กำลังทำกิจกรรมกันอยู่

อีกด้านหนึ่งของสะพานนี่คือที่ที่เราเห็นรถยนต์จอดอยู่ข้างทางที่กำลังทำกิจกรรมกันอยู่

ปั่นมาเจอด่านตำรวจ ทักทายกันพยายามเป็นมิตรกับเขาหน่อย ถามเขาเรื่องโรงแรม ตำรวจว่าปั่นไปอีก 3 กม.เลี้ยวขวาก็ถึง โอเค.. 3 โลก็ไม่ไกลเท่าไหร่ ปั่นไปตามที่เขาบอก ไม่เห็นมีโรงแรม ถามที่ร้านอาหารตรงหัวมุม เขาพูดภาษาอังกฤษได้และบอกว่าปั่นไปอีกหน่อย เฮ้อ..หลายหน่อยแล้วนะ ชักหงุหงิ ต้องปั่นไปอีกตั้งหลายโลกว่าจะถึง แถมหายากอีก เฮ่อ..กว่าจะถึง เวชเข้าไปคุยกับเจ้าของ เขาว่าคนละ 10 ดอลลาร์ พอเราอาบน้ำแต่งตัวเสร็จจะออกไปกินข้าว เด็กที่ร้านอาหารที่เราถามทาง เขามารับเราไปกินข้าวร้านเขา แต่โดนเจ้าของที่พักไล่ตะเพิดไป เราก็ไม่รู้ว่าเขาคุยอะไรกัน เหนื่อยก็เหนื่อย ไม่อยากยุ่งด้วย เจ้าของที่พักเขากลับมาบอกเราว่าให้เราอยู่ฟรีแต่ต้องไปกินอาหารที่ร้านเขา โอเค ๆ ไม่มีปัญหา เราก็ขี้เกียจเดินไกลอยู่แล้ว ตกลงเราจ่ายค่าอาหารแค่ 10 ดอลลาร์ลดไปครึ่งหนึ่ง ค่อนข้างแพงแต่ถ้าไม่ต้องจ่ายค่าห้องก็โอเค ดีเหมือนกัน เจ้าของที่พักนี่เขามีญาติที่ย้ายไปอยู่ที่อิสราเอล โชคดีของเราที่ตอนนั้นเขาอยู่ด้วยพูดภาษาอังกฤษได้คล่องมาก เขาช่วยเราสั่งอาหาร เพราะเมนูเป็นภาษารัสเซีย แต่อาหารของอุซเบกฯ ไม่ค่อยมีอะไรมาก หลัก ๆ คือ skrewer ชัสลิค คือเนื้อหมู เนื้อวัว ไก่เอามาเสียบเหล็กแล้วย่าง อีกจานคือ Lagman รัคมาน คล้าย ๆ ข้าวซอยบ้านเรา จานยอดนิยมอีกจานคือซอมซ่า Comsa คือกะหรี่ปั๊บบ้านเราแต่เอาไปอบแทน

โรงแรมโรซ่ามีอยู่ 4 ห้องแชร์ห้องน้ำ เราต้องยกจักรยานขึ้นไปตามบันไดนี่และอีกช่วงหนึ่ง เวลาพักตามโรงแรมจะเบื่อก็ตอนนี้แหละที่ต้องแบกทุกอย่างไปที่ห้อง

โรงแรมโรซ่ามีอยู่ 4 ห้องแชร์ห้องน้ำ เราต้องยกจักรยานขึ้นไปตามบันไดนี่และอีกช่วงหนึ่ง เวลาพักตามโรงแรมจะเบื่อก็ตอนนี้แหละที่ต้องแบกทุกอย่างไปที่ห้อง

โอมาลึค (Olmaliq)

เรากินขนมปังและครีมช๊อคโกแลตรองท้องก่อน คิดว่าจะไปกินที่ตลาด แต่มันอยู่อีกฝั่งหนึ่ง ขี้เกียจข้ามถนน กว้างด้วย เลยปั่นเลยไปจนมาเจอร้านขายของข้างทางริมทางรถไฟ เหมือนเมืองไทยเลย กินเสร็จเขาเอาไอติมมาให้กินฟรีอีก น่ารักจริง ๆ

ร้านข้างทางริมทางรถไฟ

ร้านข้างทางริมทางรถไฟ

วันนี้ร้อนมาก เส้นทางระหว่างยางกิเยอและโอมาลึคไม่ค่อยมีผู้คนอาศัยสักเท่าไหร่ ปั่นมาเรื่อย ๆ กำลังจะหมดหวังก็มาเจอร้านข้างถนนนี่ ที่เขาทำไอรันขาย (ไอรันคือส่วนผสมของโยเกิร์ตครึ่งหนึ่งและน้ำครึ่งหนึ่ง ใส่เกลือนิดหน่อย ที่อุซเบกฯ บางทีเขาใส่เครื่องเทศเช่น ดิล กลิ่นฉุน ๆ) และที่ตรงนั้นมีน้ำไหลมาจากภูเขาด้วยเลยพักกัน มีคนเดินทางผ่านแวะล้างหน้าล้างตากันที่แหล่งน้ำนี่ บ้างก็ซื้อนมเปรี้ยวที่เขาทำกันเองและเอามาวางขาย เราก็ฉวยโอกาสนี้ซักถุงมือถุงแขน เวลาที่ผ้าพวกนี้เปียก ปั่น ๆ ไปจะช่วยคลายร้อนได้ แต่มันแห้งเร็วมากเลยช่วงนี้

แวะล้างหน้าล้างตากัน น้ำเย็นเจี๊ยบเลย

แวะล้างหน้าล้างตากัน น้ำเย็นเจี๊ยบเลย

ปั่นมาถึงเมืองโอมาลึค (Olmaliq) เป็นเมืองอุตสาหกรรมที่่ค่อนข้างใหญ่ มีกองของเสียจากโรงงานเป็นภูเขาเลย กว่าจะเข้ามาถึงใจกลางเมือง พอหาโรงแรมเจอก็แพง มีคนแนะนำไปอีกรร.นึง แต่ยิ่งแพงเข้าไปอีก เราเริ่มเหนื่อยและอยากพักเต็มที แพงก็แพง เราจ่ายไปคนละ 60000 ซอม 2 คนเป็น 120000 ซอม จ่ายขนาดนี้แต่ขอโทษในห้องน้ำไม่มีอะไรให้เลย หงุดหงิด ในห้องก็ไม่มีเน็ต ต้องลงไปที่ล๊อบบี้ อาหารเช้าก็ไม่มี วัยรุ่นเซ็งและหงุดหงิดมากมาย

โรงงานที่ตั้งอยู่นอกเมือง

โรงงานที่ตั้งอยู่นอกเมือง

อันเกรียน (Angren)

หนทางสู่เมืองนี้ไม่ง่ายเหมือนที่ผ่าน ๆ มา อากาศร้อนแน่นอน แต่มีทางชันที่เข้ามาเพิ่มรสชาติความลำบาก ช่วงเช้ายังมีเมฆมาบังแดดให้ แต่พอสายหน่อย ลมไม่มีแต่เมฆสามารถเคลื่อนที่หายไป หรือมันละลายไปใต้แสงอาทิตย์ ปั่นขึ้นเขาแดดเปรี้ยง ๆ ไม่มีลม หง่า…แทบ (อยาก) จะเป็นลม (เสียเอง) 😉 และก่อนที่ลมจะหมด ขอพักเติมพลังสักหน่อย ด้วยข้าวซอยแบบฉบับอุซเบกฯ มันเหมือนมาก เขาเรียกมันว่า รัคมาน (Lagman) เป็นอาหารที่เรากินบ่อยแต่จานนี้เป็นจานแรกที่เรารู้สึกว่ามันอร่อยที่สุดแถมเสริฟพร้อมพริกที่ไม่เคยเห็นที่ไหนมาก่อน อาจจะเป็นตำหรับเฉพาะของท้องถิ่นนี้

วิธีทำซอสใส่ในรัคมาน ที่เห็นแดง ๆ นั่นคือซอสมะเขือเทศเข้มข้น

วิธีทำซอสใส่ในรัคมาน ที่เห็นแดง ๆ นั่นคือซอสมะเขือเทศเข้มข้น

ดูหน้าตาสิ เหมือนข้าวซอยบ้านเรามั้ย? ถ้าได้เส้นก๋วยเตี๋ยวแฮนด์เมดที่ทอดกรอบ ๆ ละก็ใช่เลยล่ะ

ดูหน้าตาสิ เหมือนข้าวซอยบ้านเรามั้ย? ถ้าได้เส้นก๋วยเตี๋ยวแฮนด์เมดที่ทอดกรอบ ๆ ละก็ใช่เลยล่ะ

จากที่เราพักกิน ”ข้าวซอย” กันพักผ่อนรอแดดร่มออกเดินทางต่อประมาณสี่โมงเย็น ทางยังคงลาดขึ้นนิด ๆ อีกประมาณ 30 กม.เราจะต้องปั่นข้ามเขาลูกหนึ่ง ซึ่งความสูง 2206 เมตร

ชันจริงแต่วิวสวยมากจริง ๆ เช่นกัน คุ้มที่พยายามปั่นขึ้นไป

ชันจริงแต่วิวสวยมากจริง ๆ เช่นกัน คุ้มที่พยายามปั่นขึ้นไป

ชมวิวระหว่างทางจากเมืองอันเกรียนไปเมืองโคคันที่มีขุนเขาล้อมรอบ ช่วงนี้เราเริ่มเข้าเขตเฟอร์กานาวัลเล่

SONY DSC

SONY DSC

เหมือนปั่นอยู่บนเขาที่ภาคเหนือของไทยเลย

เหมือนปั่นอยู่บนเขาที่ภาคเหนือของไทยเลย

วิวจากร้านอาหารบนภูเขาที่เราขอเขานอนค้างคืน

วิวจากร้านอาหารบนภูเขาที่เราขอเขานอนค้างคืน

ที่นอนเรา สำหรับเวชยาวกำลังพอดี แต่สำหรับโจคิมต้องนอนตะแคงห่อตัวเพื่อให้อยู่ภายในที่นั่งนั่น

ที่นอนเรา สำหรับเวชยาวกำลังพอดี แต่สำหรับโจคิมต้องนอนตะแคงห่อตัวเพื่อให้อยู่ภายในที่นั่งนั่น

แวะร้านข้างทางซื้อนมเปรี้ยวที่แม่ทำแล้วให้ลูกออกมานั่งขาย

แวะร้านข้างทางซื้อนมเปรี้ยวที่แม่ทำแล้วให้ลูกออกมานั่งขาย

เป้าหมายต่อไปคืออีก 75 กม.ที่เมืองโคคัน

เป้าหมายต่อไปคืออีก 75 กม.ที่เมืองโคคัน

SONY DSC

SONY DSC

ขึ้นก็ใช้กำลังไปมาก ขาลงนี่สนุกมาก แซงรถใหญ่ ๆ มาตั้งหลายคัน หลังจากที่เขาแซงเราตอนขาขึ้น แวะกินอะไรก่อนเสียหน่อย บรรยากาศในร้านอาหาร แถบเอเชียกลางชอบนั่งกันแบบนี้

ขึ้นก็ใช้กำลังไปมาก ขาลงนี่สนุกมาก แซงรถใหญ่ ๆ มาตั้งหลายคัน หลังจากที่เขาแซงเราตอนขาขึ้น แวะกินอะไรก่อนเสียหน่อย บรรยากาศในร้านอาหาร แถบเอเชียกลางชอบนั่งกันแบบนี้

ลงจากเขามาก็เข้าเมืองโคคัน บางครั้งมีความรู้สึกว่าเราเข้าเมืองแต่เราไม่มีแรงที่จะออกไปดูอะไรในเมือง เพราะกว่าจะเช็คอิน เอากระเป๋าขึ้นห้อง พักผ่อน อาบน้ำ พอพร้อมที่จะออกไปข้างนอกหาอะไรกินกันก็ค่ำ ทุกอย่างปิดหมดแล้ว ยังดีที่ร้านอาหารไม่ปิดเร็ว มันน่าจะกลับกันนะ ว่าร้านอาหารปิดเร็ว ส่วนสถานที่ท่องเที่ยวปิดดึก 😉 ทีนี้ก็อดทั้งสองอย่าง 🙂

หลังจากที่เราเช็คอินแล้ว เด็กที่เคาน์เตอร์บอกเราว่าวันรุ่งขึ้นเราจะได้สลิปลงทะเบียนจากโรงแรม ได้!! แต่ 7 โมงเช้านะ ห้ามสายกว่านี้ ไม่อย่างนั้นเราลำบากเพราะอากาศเริ่มร้อน พอเราลงมา 7 โมงเป๊ะ โน..ไม่มีสลิป ไม่มีตราประทับเพราะเจ้าของเอาเก็บล๊อคไว้ในตู้ เด็กคนเดิมบอกว่า ”ขอโทษ..ผมลืม” ได้ให้อภัย แต่จัดการเร็วหน่อย เอ..มันไม่เกิดอะไรขึ้นเลยนะ นี่คืออาการที่หลังจากถูกรัสเซียควบคุม เป็นคอมมิวนิสต์มานาน การให้บริการเป็นอะไรที่ใหม่สำหรับเขา จากที่พูดกับเขาเย็น ๆ เนิบ ๆ จนเริ่มทนไม่ไหว ต้องขึ้นเสียง นั่นแหละถึงจะเห็นความแตกต่าง เริ่มวิ่ง นี่ถ้าไอ่สลิปนี่ไม่จำเป็น เราไม่รอเด็ดขาด เสียเวลาไปตั้งชั่วโมงเศษ เราต้องปั่นประมาณ 120 กม.กว่าจะถึงชายแดน ฮึ่ม..อยากจะบีบคอทั้งไอ่เด็กคนนั้นและเจ้าของเลย เพราะท่าทางที่เขาเดินมาหาตราประทับนั่น ไม่แสดงอาการเร่งรีบใด ๆ เลย น่าบีบคอมั้ยล่ะ???

โมโหไปก็เท่านั้นแหละเนอะ เสียสุขภาพจิตเปล่า ๆ ข้าวเช้าก็ยังไม่ได้กินปั่นออกมาได้หน่อย พอรู้ว่าจะไปทางไหนแล้วก็เลยแวะกินชาและขนมปังกันก่อน

นี่คือบรรยากาศร้านอาหารข้างทางนอกเมืองหน่อย

นี่คือบรรยากาศร้านอาหารข้างทางนอกเมืองหน่อย

เม่ือคืนเราตัดสินใจปั่นเป็นเส้นตรงจากโคคันไปอดิจอน (Adijan) จะสั้นกว่าปั่นผ่านเมืองเฟอกาน่า ตั้งอยู่ทางใต้ของเส้นทางที่เราตัดตรง แต่ทางค่อนข้างน่าเบื่อเท่านั้นเอง ได้ยินมาว่าเมืองเฟอร์กานาสวย เวลาเราเหลือน้อยลง ต้องเก็บไว้โอกาสหน้า เราอยากกลับมาเที่ยวแถวนี้อีก เพราะชอบคนแถบนี้นะ รู้สึกว่าจะใจดีกว่าภูมิภาคอื่น วันนี้ทำควมเร็วได้ดีหน่อย เฉลี่ยประมาณ 23 กม./ชม. เส้นทางตรงสะไม่มี ปั่นจนง่วงตาจะปิดเลย

เราเลือกที่จะปั่นตรง แทนที่จะปั่นผ่านเมืองเฟอร์กานาที่อยู่ด้านล่างเส้นทางที่เราเลือก เพราะต้องการประหยัดเวลาและพลังงาน ;-)

เราเลือกที่จะปั่นตรง แทนที่จะปั่นผ่านเมืองเฟอร์กานาที่อยู่ด้านล่างเส้นทางที่เราเลือก เพราะต้องการประหยัดเวลาและพลังงาน 😉

2-3 วันนี้ร้อนมาก เหงื่อแตกเหมือนเส้นแสดงแม่น้ำในแผนที่เลย ไหลเป็นทาง แถมไหลเข้าตาอีก อืม… ข้างเดียวยังพอทำเนา ถ้าทั้งสองข้างนี่ต้องจอดเลย แสบตา กระพริบยังงัยก็ไม่หายแสบ บางครั้งร้อนมาก ๆ จนขนลุก แปลก!!! มานึกเปรียบเทียบกับตอนที่ปั่นในพายุหิมะแถวฮังการี, โรมาเนียและบัลแกเลีย ที่หนาวจนนิ้วมือนิ้วเท้าชาไปหมด เคยรู้สึกว่าจมูกเต้นได้้ด้วย 🙂 เพราะชีพจรมาเต้นอยู่ตรงปลายจมูกนั้น รู้สึกแปลก ๆ ดี อยู่สวีเดนหนาว ๆ ยังไม่เคยลิ้มรสความรู้สึกนี้เลย

เราปั่นผ่านตลาดนัด น่าจะเป็นตลาดนัดแตงโม แคนตาลูปนะ เพราะเห็นรถแต่ละคันที่แซงเราไปมีแต่แตงโมเต็มรถเต็มหลังคาไปหมด มีรถตู้คันหนึ่งขับช้า ๆ คุยกับเรา บางคันเราพยายามบอกว่าเราไม่เข้าใจภาษา เขาก็พยายามอีกหน่อย แล้วก็บ๊ายบายกันไปแต่คันนี้พยายามอย่างเยอะ ส่วนใหญ่เราไม่จอดคุย เราจะปั่นไปคุยไป ไม่อย่างนั้นคงไปไม่ถึงไหนแน่ เพราะไม่ค่อยมีนักท่องเที่ยวมาที่นี่สักเท่าไหร่พวกเขาเลยตื่นเต้นเวลาเห็นพวกเรา ก็เพราะรัฐบาลเขานั่นแหละที่ทำเรื่องยุ่งยากเกี่ยวกับการลงทะเบียนเข้าพักตามโรงแรมทุก ๆ 3 วัน มิเช่นนั้นจะถูกปรับ ไม่แน่ใจว่าเท่าไหร่ แต่มากโขอยู่

คันนี้เป็นคันแรกที่เข้ามาคุยกับเวชก่อนที่จะขับไปหาโจคิม

คันนี้เป็นคันแรกที่เข้ามาคุยกับเวชก่อนที่จะขับไปหาโจคิม

เมื่อวันสุดท้ายที่อดิจอน เรายังได้ทำความรู้จักกับครอบครัวหนึ่งมีคุณปู่และหลานชายออกมาเดินเล่นตอนเย็นกัน เดินมาเจอเราตอนที่เราจะไปขอนอนค้างคืนที่ร้านอาหารข้างทาง เขาเข้ามานั่งคุย เจ้าเด็กน้อยอายุแค่ 12 ปีแต่พูดภาษาอังกฤษได้คล่อง เขาอยากฝึกพูดภาษาอังกฤษ เลยนั่งคุยอยู่กับเราจนดึกไม่ยอมกลับบ้าน จนเราไม่สามารถปกปิดความง่วงและเพลียได้ เขาเลยขอตัวกลับไป คุณปู่รู้จักกับเจ้าของร้านเป็นอย่างดี เราตั้งใจว่าจะขอนอนตรงที่เรานั่งกินอาหารนั่นแหละ แต่เจ้าของร้านชี้ไปที่ห้องส่วนตัวอีกมุมหนึ่งแล้วบอกให้คุณปู่พาไปดูห้องนอน ห้องน้ำ แกบอกว่าดูไม่น่าสะดวกนะ ไปนอนบ้านเขาดีกว่ามั้ย เราก็เกรงใจที่ร้าน ขอเขาไว้แล้วเลยไม่อยากจะเปลี่ยนที่ ถ้าอย่างนั้นพรุ่งนี้เช้าแกจะมาบอกลาเราตอน 7 โมงเช้า น่ารักจริง ๆ 7 โมงกว่า ๆ แกก็เดินมาแต่เจ้าเด็กน้อยตื่นไม่ไหว ชวนเราไปดื่มกาแฟที่บ้าน เราไม่ค่อยกล้าปฏิเสธ เพราะดูจากท่าทางที่แกถามเราดูแกก็เกรง ๆ ว่าเราจะไม่ไป วันนี้เราไม่รีบร้อน ไปเยี่ยมบ้านแกเสียหน่อย พอตอบตกลงปุ๊บหน้าตาแกเบิกบานอย่างเห็นได้ชัดเลย เกือบไปแล้ว เกือบทำให้คนแก่เสียใจ

คุณปู่คุณย่าและคุณแม่ของเจ้าตัวเล็ก 12 ขวบ

คุณปู่คุณย่าและคุณแม่ของเจ้าตัวเล็ก 12 ขวบ

พี่สาวอายุ 15 ปีส่วนพี่สาวอีกสองคนแต่งงานไปแล้ว อายุแค่ 21 เองแต่งแล้วและกำลังจะคลอดลูกด้วย ไวจริง ๆ

พี่สาวอายุ 15 ปีส่วนพี่สาวอีกสองคนแต่งงานไปแล้ว อายุแค่ 21 เองแต่งแล้วและกำลังจะคลอดลูกด้วย ไวจริง ๆ