Monthly Archives: November 2013

จีน => จาก Mengla (เมงล่า) เข้าลาวไปหลวงพระบางถึงเวียงจันทน์

บล๊อคนี้มาข้ามประเทศเลยละกันนะค่ะ ตั้งแต่เข้าเขตมณฑลสิบสองปันนา รู้สึกสดชื่นเพราะทั้งร่มร่ืนและผู้คนท่ีน่ารักร้องทักทายตลอดทาง เราเลือกเส้นทางท่ีเลียบกับทางด่วนและเลือกไม่ผิด รถราก็น้อยมาแทบจะไม่มี ไม่ต้องปั่นลอดอุโมงค์ เขาสูงก็จริง แต่ธรรมชาติเทียบกันไม่ได้ และยิ่งมีกเรต้ามาป่ันร่วมทางด้วย สมควรท่ีจะปั่นบนทางธรรมดา ปั่น ๆ อยู่ก็มาเจอจักรยาน Recumbent Paul = พอล เป็นชาวฝรั่งเศส เขาบอกว่าเห็นเราแล้วเลยหยุดเพื่อท่ีจะทักทายกัน เป็นคนฝรั่งเศสท่ีพูดภาษาอังกฤษได้คล่องอย่างไม่น่าเชื่อ 😉 เราเลยปั่นร่วมกันจนมาถึงเมืองหนึ่ง จากนั้นตอนเช้าเขาต้องรีบไปขึ้นรถทัวร์เพราะวีซ่าจีนของเขาหมดอายุ ก็แยกกันวันนั้น

ได้กเรต้ามาเป็นทั้งเพื่อนร่วมทางและช่างกล้องด้วยเลย
IMG_2812

ระหว่างทางและหมู่บ้านริมทางท่ีค่อนข้างเรียบง่าย
IMG_2807

เราแวะดื่มน้ำกัน กเรต้าเห็นผลไม้หล่นอยู่ท่ีพื้น สงสัยเลยเอาขึ้นมาแกะออกดู ปรากฎว่ามันเป็นเสาวรส อร่อยดีไม่เปรี้ยวเท่าไหร่ ไม่รู้เลยนะนี่ว่าต้นมันจะใหญ่ขนาดนี้ ในท้องตลาดเราจะเห็นเปลือกมันเป็นสีเข้ม ๆ เหี่ยว ๆ
SONY DSC

อย่างท่ีเคยเล่าให้ฟังว่าสิบสองปันนาให้ความรู้สึกเหมือนถึงเมืองไทยแล้ว ทั้งคนและบรรยากาศ มาถึงตรงนี้ต้องทั้งสถาปัตยกรรมด้วย ประตูทางเข้าหมู่บ้านและศาลาพักร้อน
SONY DSC

ตลอดทางมานี่ ถ้ามีเวลาคงได้ถ่ายรูปกันจนการ์ดความจำเต็มแน่ ตอนปั่นขึ้นก็รู้สึกเหนื่อย จราจรท่ีไม่คับคั่งทำให้เราสามารถปั่นไปคุยกันไปได้ แถมอยากจะหยุดทำธุระส่วนตัวหรือชมวิวตรงไหนก็ได้เช่นกัน ตอนอยู่ท่ีจีน นึกปวดก็หยุดและหาท่ีแถว ๆ นั้น แต่อยู่ตรงนี้รู้สึกเกรงใจชาวบ้านนิดหน่อย เพราะท่าทางเขาถึือว่าเป็นเรื่องส่วนตัว ควรปกปิดบ้างไม่เหมือนคนจีน นึกจะนั่งก็นั่ง ขนาดมีต้นไม้ใหญ่ท่ีสามารถช่วยบังให้ได้ เขายังไม่ยอมใช้บริการนั้นเลย เราก็อยากจะปกปิด แต่ทางตรงนี้ก็หาท่ีทางยากหน่อย เพราะด้านหนึ่งเป็นเขา อีกด้านหนึ่งเป็นเหว อาศัยว่ารถน้อยก็ค่อยยังชั่วหน่อย

นาน ๆ ทีจะมีรูปคู่ ต้องขอบคุณกเรต้าท่ีมาร่วมวงกับเรา
IMG_2877

ยิ่งใกล้ชายแดน ป้ายบอกทางท่ีเป็นภาษาจีนก็ค่อยลางเลือนไป กลายเป็นภาษาไทยและลาว
SONY DSC

ถ่ายรูปกับชายแดนเสียหน่อย และตรงนี้เองท่ีเวชเปลี่ยนหนังสือเดินทางจากสวีดิชเป็นไทย คนไทยเข้าลาว ถ้ามีหนังสือเดินทางไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย และสามารถอยู่ได้ถึง 1 เดือน
IMG_2907

กเรต้าอยากลองนอนวัด หลังจากผ่านชายแดนเข้ามาแล้ว พอมาถึงหมู่บ้านน้ำมอ เราเห็นวัดอยู่แห่งหนึ่งแต่ต้องปั่นขึ้นเขาไป เลยลองไปอีกวัดหนึ่ง แต่พอเดินขึ้นบันไดท่ีหลายขั้นพอเมื่อย ไปถึงก็ได้รู้จากเด็ก ๆ ว่าวัดปิดและไม่รู้จะเปิดอีกเมื่อไหร่ เลยเดินลงมาและไปนอนท่ีเกสต์เฮาส์แทน
IMG_2926

ท่ีพักท่ีแรกในลาว เจ้าของท่ีพักเขามีลูกอยู่ 4 คนเรียนกันดี ๆ ทั้งนั้น แถมยังมีสวนยางอีกตั้ง 20,000 ต้น เลยบอกเขาว่าเขารวยกว่าเราอีกลดค่าห้องอีกละกัน 😉
IMG_2929

อาหารไทย-ลาวมื้อแรก รสสาดไทยแท้ มื้อนี้สั่งพื้น ๆ ไข่เจียว ผัดผักและแกงจืด ข้าว 3 จาน พอคิดเงิน 80,000 กีบ เป็นเงินไทย = 320 บาท คิดว่าแพงนะ ถ้าเราไปกินตามต่างจังหวัดบ้านเราไม่น่าจะถึง ข้าวผัดจานหนึ่งราคา 15,000 กีบ = 60 บาท จานนี้ผัดกะไข่ไม่มีหมูไก่นะ
SONY DSC

เช้า ๆ อากาศเย็นเหมือนกันนะ ยิ่งต้องปั่นขึ้นเขายิ่งเย็น แต่พอพระอาทิตย์ขึ้นก็ร้อนแต่ยังไม่ร้อนแสบผิวเหมือนบ้านเรา ช่วงกลางวันก็มาเจอเด็ก ๆ เดินกลับบ้านมากินเท่ียงท่ีบ้าน
IMG_2934

ได้ยินเสียงใครร้องทักอยู่ข้างหลัง อ้าว..นักปั่นอีกคน ชาวฝรั่งเศส ชื่อ ฟรองซัว ลืมเล่าให้ฟัง เราเจอเขาครั้งหนึ่งท่ีชายแดนจีน-ลาว แต่ตอนนั้นคิดว่าคงใช้เวลา เพราะเขามาตอนท่ีเราได้วีซ่ากันแล้ว เลยปั่นกันออกมาโดยท่ีไม่ได้รอเขา และระหว่างท่ีปั่นก็คิดว่าเขาน่าจะตามเราทัน แต่ไม่อ่ะ มาเจอกันอีกทีตอนเช้า เราเลยปั่นกันเข้าเมืองอุดมชัย เขาพูดภาษาอังกฤษไม่คล่องเท่า ”พอล” ท่ีเราแยกกันท่ีเมืองจีน ฟรองซัวเขาเห็นเราเขาก็รีบตามมาทั้ง ๆ ท่ีกำลังยืนรอแลกเงิน เงินยังแลกไม่ได้แต่ดันตามเรามา เขาบอกให้เรารอ แต่เราไม่มีเวลามากขนาดนั้น เลยบอกให้เขาไปแลกท่ีอีกเมืองหนึ่งก็ได้ ปั่น ๆ ไปหันมาขอน้ำ เอ้า..เทให้ไป ปั่น ๆ ไปหันมาบอกว่าหิว เอ้า..เอาขนมไปกิน กินเสบียงฉันเกือบหมดเลย ทีนี้เราก็หิวเลยต้องหยุด อีตานี่ไม่มีเงินอีก มันเดินทางยังงัยของมันนี่ ไม่มีเงิน ไม่มีอาหาร แถมไม่มีเงินอีก เอ้า..ออกให้ก่อนก็ได้ มื้อนี้กินกันเกือบสองแสน

SONY DSC

ท่ีจริงเขาปั่นเร็ว เราก็ปล่อยให้เขาปั่นของเขาไปส่วนเราปั่นกันไปเรื่อย ๆ เขาหยุดรอ ปรากฎว่าเขาอยากมีเพื่อนปั่นเพราะไม่ได้ปั่นร่วมกับใครมานานเป็นเดือน ประมาณว่ากลัวน้ำลายบูด เข้าใจเลยอ่ะ เพราะเขาพูดไม่หยุด แค่ฟังยังเหนื่อย พอถึงเมืองอุดมชัย เราเห็น ATM เลยไล่ให้ไปกดตังค์ ถามนะว่าอัตราแลกเปลี่ยนเท่าไหร่ พอเดินกลับมากดมาแค่ 20,000 (สองหมื่นกีบ) เอ้า ๆๆ ท่ีกินไปนะเกือบสองแสน เงินสองหมื่นได้กาแฟ 4 ถ้วยเองนะเว้ย ค่าธรรมเนียมท่ีกดสองหมื่นออกมาน่าจะแพงกว่าเงินท่ีได้อีกละมั้ง มันบ้า!!! เราเลยขอตัว จริง ๆ ก็คิดว่าจะปั่นไปอีกหน่อยเพื่อย่นระยะทางเข้าหลวงพระบาง แต่เผอิญเห็นวัดอยู่ข้างทาง เลยลองเดินขึ้นไปขอกับเจ้าอาวาส ท่านก็อนุญาติให้นอน เลยขึ้นไปนอนบนหอระฆังชั้นสามเลย

IMG_2958

ก่อนหน้านั้นเคยคุยกับกเรต้าว่า ต้องมีสักครั้งหนึ่งท่ีเราต้องเอาตัวลงไปจุ่มในแม่น้ำโขง และวันนั้นเองเราได้ทั้งนอนวัดและได้อาบน้ำในแม่น้ำโขง สมใจเราทั้งสองประการ ดีใจท่ีสามารถจัดให้กเรต้าได้สมใจ

SONY DSC

วัดในตอนเช้า

SONY DSC

ถ่ายรูปกับเณรด้านหน้าโบสถ์

IMG_2989

วันนี้เราปั่นกันเรื่อย ๆ ตามสไตล์ เห็นป้ายบอกทางเข้าน้ำตกแค่ 200 เมตร เอ๊ะ..มีเวลาเหลือนี่ ลองเดินเข้าไปดูกัน เป็นน้ำตกเล็ก ๆ ระหว่างทางท่ีเดินเข้าไปเห็นงูด้วย ตามถนนก็เห็นงูแผ่นอยู่หลายแผ่นเหมือนกัน ทั้งท่ียังสด ๆ และท่ีแห้ง ๆ

SONY DSC

เดินกลับมาท่ีจักรยานท่ีฝากเขาไว้ ฝากจักรยานเขาก็เลยอุดหนุนซื้อน้ำกับเขา จ๊ะเอ๋กับคนฝรั่งเศส ไม่ใช่ฟรองซัวแต่เป็นพอล และพอลก็ได้เจอกับฟรองซัวท่ีเมืองอุดมชัยท่ีเราแยกกับเขาด้วย ก็เลยร่วมทางกันอีกครั้งหนึ่ง สู่หลวงพระบาง

SONY DSC

โฉมหน้าของหนุ่มน้อยพอล

SONY DSC

พอมีกเรต้ามาร่วมปั่นด้วย การเตรียมตัวของเราก็เปลี่ยนไป จากท่ีเคยตุนสารพัดกลับไม่มีอะไรสักอย่าง เวรกรรม!!! วันนี้เราว่าจะหาซื้อแต่ไม่มีร้านใหญ่ ๆ เหมือนในเมืองจีน ปั่นผ่านหมู่บ้านหนึ่ง เห็นสาวม้งเดินออกมา เลยถามเขาว่าทางข้างหน้ามีร้านขายข้าวมั้ย? เขาบอกว่าไม่มี เวลาก็เริ่มสายแล้วนะ เลยขอให้เขาทำข้าวผัดให้กิน สาวม้งอายุแค่ 18 ปีมีลูก 2 คนเล็ก ๆ เราก็รีบลูกเขาก็ร้อง เลยเข้าครัวเองเสียเลย กินกันตามมีตามเกิดนะเพื่อน ๆ

IMG_2998

วิวระหว่างทางไปหลวงพระบาง
SONY DSC

IMG_3030 2

ในท่ีสุด เราก็มาถึงหลวงพระบางครั้งท่่ีสองหลังจากเมื่อ 8 ปีท่ีแล้ว เปลี่ยนไปมากมาย นักท่องเท่ียวมากขึ้น ท่ีพัก เกสต์เฮาส์ ร้านอาหารก็ทำกันอย่างแปลกแหวกแนว ไม่ใช่สไตล์ลาวเลย และนี่คือท่ีพักเรา ชอบนะเพราะให้ความรู้สึกเหมือนอยู่บ้าน เข้าซอยลึกหน่อยแต่ทำให้ไม่ได้ยินเสียงจากรถจากท้องถนน สงบติดแม่น้ำคาน

SONY DSC

และก็ถึงวาระท่ีจะได้พบกับบาเทคอีกครั้งหนึ่ง

SONY DSC

อยู่ในหลวงพระบางเราไม่ได้ไปในสถานท่ีท่ีเป็นสถานท่ีท่องเท่ียวในหนังสือแนะนำ เราพักผ่อนกันเสียส่วนใหญ่ ปั่นจักรยานออกไปดูบ้านเมืองตามซอกตามซอยด้านนอก เห็นอะไรท่ีแตกต่างจากใจกลางเมือง เสร็จแล้วก็ไปนวดตัวนวดเท้า ไปหาอะไรกิน และยังปั่นผ่านห้องสมุดของหลวงพระบางด้วย ต้องถ่ายรูปเสียหน่อย

IMG_3066 2
IMG_3059 2
SONY DSC

และป้ายคนข้ามถนนท่ีดูแตกต่างไปจากท่ีเคยเห็น ๆ มา
SONY DSC

วันเสาร์บ่ายสามโมงเราไปส่งกเรต้าขึ้นเครื่อง ร่ำลากันเรียบร้อยก็กลับมาที่โรงแรมจัดการกับสัมภาระ เมื่อคืนมีข่าวว่าพายุไต้ฝุ่นไหเยี่ยนเข้าที่ฟิลิปปินส์ และมีแนวโน้มว่าจะพัดเข้าลาวตอนเหนือในอีกวันรุ่งขึ้น เราก็ไม่อยากติดพายุอยู่ที่ลาวนี่เลยรีบกัน โชคดีที่พายุอ่อนแรงลงและพัดมาไม่ถึงลาวแต่เข้าเวียตนามแทน ทำให้วันนั้นเราปั่นกันอย่างร่มรื่นเพราะมีเมฆหมอกมาบังพระอาทิตย์ให้ เรารู้ว่าเราจะต้องไต่ข้ึนลงเขาอย่างน้อย 2000 เมตร เตรียมใจไว้ก่อนแล้ว แต่ที่ไม่ได้เตรียมคืออากาศที่ร้อน คิดว่าที่อุซเบกฯ 45-50 องศา ร้อนสุด ๆ แล้วนะ แต่ทำไมที่ลาวถึงได้ร้อนกว่านัก คิดว่ามันร้อนแบบกระทันหันกระมัง จากคุนหมิงที่หนาว ๆ 10-15 องศา พอมาถึงนี่พุ่งพรวดเป็น 30 องศา เช้า ๆ อากาศกำลังสบาย แต่พอแดดออกก็ร้อนมาก

กราฟความชันของภูเขาที่ปั่นออกจากหลวงพระบาง

กราฟความชันของภูเขาที่ปั่นออกจากหลวงพระบาง

ถ้าเพื่อน ๆ ยังไม่เคยมาปั่นที่ลาว ขอแนะนำนะค่ะ ลาวสวยมาก ขุนเขามากมาย ถนนจะชันกว่าที่เมืองจีน ขึ้น ๆ ลง ๆ เกือบตลอดทาง ผู้คนยิ้มแย้มแจ่มใส ทั้งเด็กเล็กและผู้ใหญ่ร้องทักสวัสดี ปั่นไปยิ้มไป มีที่ประทับใจคือเด็กผู้หญิงคนหนึ่งเดินกลับจากไปซื้อขนมมั้ง มือข้างหนึ่งถือถุงขนมอีกข้างหนึ่งถือร่ม พอเราปั่นมาใกล้ เด็กน้อยคนนี้เขาเอาร่มมาเหน็บที่คอแล้วเอามือที่เคยถือร่มมาโบกมือทักทายเรา น่ารักจริง ๆ อีกครั้งหนึ่งคือเด็กผู้ชาย กำลังเล่นเอาไม้ยาว ๆ เขี่ยอะไรอยู่ที่พื้น เขาทักทายเราโดยย้ายไม้ยาว ๆ นั้นไปอยู่ในมืออีกข้างหนึ่งแล้วโบกมือให้เรา เมื่อวันก่อนเวชมีถุงขนมเหน็บไว้ที่ท้ายรถ มีเด็กปั่นจักรยานสองคนมา เห็นแค่ถุงเขาสามารถรู้ได้ว่าเป็นขนม ร้องขอ เวลาที่เขาขอเราไม่ค่อยอยากให้อ่ะ และมีบางครั้งที่มีเด็กร้องขอเงิน แต่ไม่บ่อยเท่าเพื่อนคนโปแลนด์เจอ เขาถึงกับเบื่อเลย

จากหลวงพระบางไปเวียงจันทน์ระยะทาง ประมาณ 380 กม.พวกเรากะผิดไปหน่อย underestimate ดีที่พายุมาช่วยเร่งเราไม่อย่างนั้นคงเอ้อละเหยลอยชาย โดยเฉพาะเวช 😉 ก่อนกเรต้าเดินทางกลับ ท้องเสียและวันต่อมาก็มีไข้ กินยาเข้าไปก็เลยรู้สึกดีขึ้น แต่พอเราปั่นออกมาถึงหมู่บ้านกิ่วกะจำ โจคิมเริ่มรู้สึกเหมือนจะเป็นหวัดและต่อมาก็เริ่มมีไข้เช่นกัน เลยต้องจอดรอดูอาการอยู่ที่โรงแรมง่าย ๆ ที่หมู่บ้านนั้น ต้องกินยาล่ะ วันรุ่งขึ้นดีขึ้นทันตา อึดเหมือนกันนะเนี่ย สามีใครหว่า 😉 ปั่นขึ้นภูคูนกัน ทางสวยมาก หารายละเอียดเกี่ยวกับภูคูนไม่ได้ เลยไม่รู้ว่าเขาไปเที่ยวอะไรกัน นอกจากปั่นมาถึงตรงที่เขาทำที่จอดให้ชมวิว ได้ถามไกด์สาวคนหนึ่งเขาบอกว่าเขาที่เห็นนั่นคือ ภูเพียงฟ้า

SONY DSC

SONY DSC

หลังจากจุดชมวิวนั้นก็ไหลลงมาอย่างสนุก ถนนพับไปพับมา รถราเริ่มเยอะเพราะใกล้สถานที่ท่องเที่ยวละมั้ง แต่ไม่เยอะอย่างที่คิดว่าจะไม่ปลอดภัย หลังจากนั้นเราก็ตั้งหน้าตั้งตาปั่นกันอย่างเพราะกลัวว่าจะเข้าเวียงจันทน์ไม่ทันไปยื่นขอวีซ่า อากาศที่ร้อนเลยไม่ค่อยอยากอาหาร อีกอย่างโจคิมรู้สึกอึดอัดที่ท้อง เขาไม่ค่อยอยากอาหารเข้าไปอีก เวชเลยต้องรับช่วงจัดการจานของเขาด้วย 😉 จากหมู่บ้านกิ่วกะจำ เราตั้งใจจะปั่นไปให้ไกลหรือเท่าที่เวลาจะอำนวย แต่กลายเป็นว่าเท่าที่ร่างกายจะอำนวย เพราะโจคิมเริ่มรู้สึกเหนื่อยและไม่ไหว เราด้วย เลยลองแวะถามน้องที่ร้านขายน้ำปั่นข้างทาง ถามหาที่พัก น้องว่าเลยมาแล้วหรือไม่อย่างนั้นก็ต้องปั่นไปอีก 25 กม. ได้ยิน 25 กม.ก็หมดลม เลยขอน้องดื้อ ๆ ว่าขอนอนข้าง ๆ บ้านตรงที่ว่าง ๆ นั้นได้มั้ย มารู้ชื่อทีหลังว่าชื่อ ปานี น่ารักมากเลย ปานีบอกว่าเข้าไปนอนในบ้านเลยก็ได้

เห็นปานีแล้วทำให้นึกถึงน้องอาร์มแต่เสียงหัวเราะนึกถึงน้องณัฐ เจ้าหนูน้อย ”วา” ไม่รู้กลัวอะไรป้าเวช เห็นหน้ากันเป็นร้อง แต่เช้าอีกวันเริ่มยิ้มให้นิด ๆ นิดเดียวเอง ให้นอนแล้วยังทำอาหารเลี้ยงอีก ปานีกลัวว่าเขาจะทำอาหารได้ไม่อร่อยถูกปาก เลยจะให้เวชทำ แต่ทำไปทำมาก็กลายเป็นปานีที่ทำ

SONY DSC

เช้ามาเราออกกันแต่เช้า ปานียังอุตส่าห์ต้มไข่หุงข้าวเหนียวให้เอาไปกินระหว่างทางอีกด้วย น่ารักจริง สักวันหนึ่งจะกลับไปเยี่ยมอีกครั้งหนึ่ง จากบ้านของปานีอีกตั้งเกือบ 200 โลเข้าเวียงจันทน์ ครั้งนี้เราเอาเวลามาเป็นตัวกำหนด จอดพักไม่นาน ช่วงนี้ไม่ค่อยอยากอาหารเพราะร้อน พักที่ไหนก็น้ำดื่มเย็น ๆ ทำถุงแขนและถุงมือให้เปียก เปียกแล้วปั่นสบายหน่อย เย็นนิด ๆ ช่วงนี้พระอาทิตย์ตกดินเวลา 17.30 มีหมู่บ้านแน่นขึ้น ทำให้เราหาที่พักได้ไม่ยาก เลยพยายามปั่นกันไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะมืดเลยว่างั้นเหอะ

SONY DSC

ตื่นกันตั้งกะตีห้า ออกจากที่พักกันยังไม่สว่างเลย เพราะเหลืออีก 50 โลที่จะปั่นเข้าเวียงจันทน์ เราอยากจะยื่นเรื่องขอวีซ่าและอยากได้หนังสือเดินทางคืนวันศุกร์เพื่อที่จะปั่นข้ามสะพานมิตรภาพไทย-ลาวเช้าวันเสาร์ ขาเข้าเวียงจันทน์ทางเริ่มราบเรียบขึ้นลงเล็กน้อย ลาวทั้งน่าเที่ยวและน่าปั่น แต่ติดที่ว่าค่าครองชีพเขาค่อนข้างสูงเนอะ ผัดผักรวมราดข้าวที่กินเมื่อกลางวันนี้ราคา 20,000 กีบ = 80 บาท ท่าทางไปซื้อของสดมาทำน่าจะถูกกว่าเยอะ ลาวเป็นประเทศที่ไม่อยู่ติดทะเล ภาษีขาเข้าเลยสูงคงอย่างนี้แหละเนอะ

SONY DSC

ตอนปั่นเข้าเวียงจันทน์ ช่วงที่ติดไฟเขียวไฟแดง ว้าว…ไม่ได้ติดไฟแดงมานานแสนนาน แล้วจู่ ๆ ก็ได้ยินเสียง ”ฮัลโหล” ดังมาจากด้านหลัง เอ่…หันไปก็เจอนักปั่นท่านหนึ่ง มาทราบชื่อทีหลังว่า ”ลุงโพ” คุณลุงเห็นเราปั่นผ่านหน้าบ้านเลยตามกันมา ปั่นมาส่งถึงหน้ากงศุลไทย คนเยอะมาก โจคิมเข้าไปยื่นเอกสาร ส่วนเราต้องรออยู่ด้านนอก เพราะเขาไม่ให้เอาจักรยานเข้าไป เลยได้ยืนคุยกับคุณลุงโพ ช่างแข็งแรงเสียจริงอายุเกือบจะ 70 ปี แล้ว ยังได้เคล็ดลับเรื่องสุขภาพมาด้วยอีกน่ะ

เมื่อ 8 ปีที่แล้วได้มาถ่ายภาพตรงนี้ แต่วันนี้มีเรา 2 คน ใกล้บ้านเข้ามาทุกที ตื่นเต้น ๆ ๆ
SONY DSC

Day 146 – 155 (Kunming – Luang Prabang)

Arriving Southeast Asia
When I arrived to Bangkok for the first time in March 1987 I was 17 years old without any experience of Asia. The airport was undergoing re-construction and was crowded and a bit messy. In the arrival hall I saw a group of buddhist monks and I remember my thoughts were something like ”wow…. is this really for real now…???”

The staff of the exchange organization picked up me and my two fellow swedish exchange students, squeezed us into a small car and drove us to the arrival camp for the foreign exchange students. My first impression of Bangkok was it was a huge and crowded city with a messy traffic situation. The glittering roofs of all the temples we passed by seemed very exotic to the young and unexperienced version of myself and when we stopped to have some snacks along the way the smells and the atmosphere at the food stalls added to this feeling.

I truly enjoyed my exchange year even if it occasionally was very tough to be so young and far away with no phone, no skype, no internet, no e-mail i.e. none of the modern methods of communication that we now take for granted.

Despite the occasional hardships I had got caught by Thailand and later chose to study Thai language and southeast asian history at the university. The academic approach to the language and history boosted my interest of the region even further and when I later started to work in Bangkok, Thailand developed into my second home country.

I haven’t calculated how much time I have spent in Thailand in total but the amount of years have definately been enough to completely delete my initial ”wow feeling”. To me Thailand is nowadays just as exotic as a visit to a grocery store in Göteborg a rainy Tuesday afternoon….

Unfortunately I haven’t spent very much time in Thailand’s neighbouring countries and eventhough I know that there are great similarities between the culture in Thailand and its neighbours, I was very curious if it would be a quick or gradual transition from chinese to thai-like culture. A few weeks ago we started to discuss when we will start to see the first signs of approaching a more southeast asian landscapes and culture.

Kunming is only 250 km north of the tropic of cancer and we thought that city might be the gateway to southeast asia. The city offered us 10 degrees and rain and it felt more like being back in Göteborg rather than close to the tropics.

Misty morning in southern China

Misty morning in southern China

Southern China is home to a diversity of minorities and some of them speak languages that belong to the same family of languages as Thai. We didn’t know what to expect but we were curious to enter the area where these minorities live to see if we could see any traces of ”thai-ness”.

The initial 2-3 days of cycling together with Greta was in a complete chinese environment. Language, food, people and everything was just like elsewhere in China, but then the change came rapidly over just a few days. People we met didn’t always speak chinese anymore and, as I mentioned in a previous post, we could even get by by speaking Thai to people.

Being able to communicate freely without translation apps in the smartphone or using sign language was of course a relief and very convenient, but most of all it gave us a feeling of being close to home. Things didn’t feel as foreign to us anymore and we felt we were on our home turf. I think that if we would have cycled in the opposite direction we would have got the same kind of feeling when arriving in southern Denmark or anywhere else where Swedish could be used for communication.

This family was the first people we met who we could talk to in Thai/Lao

This family was the first people we met who we could talk to in Thai/Lao


The further we got towards the Laotian border, the more people we met who we could communicate easily with. This was very convenient but it wasn’t only the common language that made us feel we had arrived to the proximity of Thailand.

Rubber plantations were just as common in south China as in Thailand

Rubber plantations were just as common in south China as in Thailand

The last two weeks of rain and cold weather was gone and the temperatures rose and the sunshine came back. The landscape also changed and turned into something that we think resembled that of northern Thailand. The cycling was a rollercoaster up and down on steep but not very high hills. None of us know the names of thai trees and bushes, but we know what they look like and we saw many kinds of trees that we are used to see in Thailand.

We found ripe passionfruit on the ground

We found ripe passionfruit on the ground

Another thing that made us feel close to home was the architecture. Houses in villages we passed through had so many similarities to those in rural Thailand that we almost thought we were already there. When looking closely at some houses we could see that details such as ornaments were similar, but when looking a village from a distance it also looked like thai villages with a tight cluster of many small houses and a oranged tiled temple roof as a contrast.

A very thai looking bus stop in Mengla

A very thai looking bus stop in Mengla

And this hotel had a clear thai looking design

And this hotel had a clear thai looking design

Cycling up and down steep hills make us hungry and thirsty and every time we stopped at small shops to buy some snacks we found more and more products that were imported from Thailand. As long as we were in China most products were chinese, but there were some thai products too. Once in Laos it seemed that 80% av the products on sale were from Thailand and we felt like we had already arrived to Thailand. It seems like Laos import most of its consumer goods from Thailand, which isn’t very strange since they have a very similar culture and language.

Just like in Thailand shops along the road in Laos always have a TV turned on in some corner and it seems that most people prefer to look at Thai TV channels. One evening we had our dinner at a small restaurant and at 6 PM we heard the familiar tune of the Thai national anthem. We have heard that song thousands of times and it is nothing we normally pay any attention to and we didn’t this time either. I think half of the song was played until we simultanously looked at each other realising that it really was the thai national anthem, that we were in Laos and not Thailand and that we had biked all the way from Sweden to that little restaurant. It was like a wake up call that we are getting closer now….

No, we aren't in Thailand yet. This photo shows the corner of a street in the chinese town Mengla, but it looks like it could be in any thai town.

No, we aren’t in Thailand yet. This photo shows the corner of a street in the chinese town Mengla, but it looks like it could be in any thai town.

Everytime we saw something that resembled something thai we got surprised and happy. We pointed out thai looking things to each other and sometimes stopped to take photos. I find it interesting that ordinary things in Thailand that I find as exotic as going to the grocery store in Göteborg, can be so very interesting and exotic outside Thailand. After all a thai style ornament on a roof is not such exotic after all but I think that after cycling thousands of kilometers through snowstorms, burning desserts, across tall mouintain ranges and meeting new cultures, seing a thai style roof or hear someone speak a language close to Thai makes us feel that we are soon there even if we haven’t yet crossed the border into Thailand.

The cycling
My second cousin Greta is a person who is a true outdoor adventurer. The last years she has done expeditions on skiis in arctic environments and she is a very tough woman. Going on a multiday cycling tour in a hilly landscape was new to her and before she left Sweden she bought herself a brand new leather saddle that takes about 500-1000 km to break in.

When planning our ride together we knew Greta is a person who don’t give up because of some rain or aching muscles. She is absolutely fit for a tough ride in the mountains, but all of us, Greta included, suspected that even if her muscles are strong enough for this kind of endeavours, her experience from skiing in the arctic maybe hasn’t prepared her bottom for sitting long days on a brand new very hard leather saddle….. The plan was therefore to cycle not too long daily distances – it was after all her vacation and we wanted to enjoy each other’s company without pushing hard and rushing through this nice and interesting area.

China - home to both capitalism and communist symbols

China – home to both capitalism and communist symbols

Since the distance from Kunming to Luang Prabang is too long to be possible to cover within the two weeks Greta has been with us, we decided to start cycling from the city of Mojiang some 250 km south of Kunming. Wej and I planned to cycle there ahead of Greta and take a bus back to Kunming and pick her up at the airport. When we left Kunming I got some mechanical problems and had to return to get my bike serviced. This meant that there was no time for us to cycle there anymore and we decided to wait for Greta in Kunming and take the bus to Mojiang together.

Some road signs were in only Thai on the chinese border to Laos... !!!

Some road signs were in only Thai on the chinese border to Laos… !!!

We arrived late to Mojiang and when we looked out from the window the following morning the rain was pouring down. It wasn’t cold like in Kunming, but getting wet is never fun. Wej and I use ponchos for rain protection, but we have no rain pants. This is no problem since the upper parts of the legs stay dry under the poncho and the mudguards take most of the water that gets sprayed from the front tyre. This is only valid IF there is a mudguard….. When I changed tyre a week ago I had to remove my mudguard and since then my legs get soaking wet in 5 minutes after it starts to rain.

Struggling up a never ending uphill

Struggling up a never ending uphill

Solving problems is a part of this trip and what to do to stay decently dry? It is simple – get some plastic bags and tape them around the legs and voila – you have created a new rain pant. It doesn’t look good and it’s certainly not high-tech, but it works.

Making plastic bag-tex rain paints....

Making plastic bag-tex rain paints….

Our first day on the bike with Greta was a 60 km gradually downhill experience. We didn’t have to use much effort as we rolled between the mountains on a small countryside road. The rain stopped after some time but it was still very humid and the road was wet. We didn’t want to camp and found a very nice newly built simple hotel in a town that has a name that is so long and difficult to spell that I won’t even try to remember it.

Go go go - stopping means wet and dirty shoes

Go go go – stopping means wet and dirty shoes


Day two was going to be the climbing day. The first 45 km was going to be rather flat and then a climb of about 1000 vertical meters was waiting for us. 45 km is a good distance to warm up for such a climb, but there was a but……. After 20 km the condition of the road changed abruptly. It had been a nice sealed road but at a certain point the asphalt ended and the road turned into a dirt road. All the raining the last week had turned this dirt road into a ditch of soft mud and we had to zig-zag in order to avoid the largest potholes. Sometimes the mud was so deep that the surface of the mud reached well over our hubs.

The speed wasn’t higt and even if we tried to avoid it we sometimes had to put our feet down in the slushy mud water. We rode through this for almost 20 km and when we got out we were severely delayed and wouldn’t have time to climb that mountain.

Greta's bike after riding through the mud. Check the line on her bag to see how deep it was

Greta’s bike after riding through the mud. Check the line on her bag to see how deep it was

There was a house right after the muddy section ended and we asked the man who lived there if we could get some water to clean ourselves and the bikes. He then pulled out a water hose and we spent half an hour to get our bikes and ourselves decently clean again.

After our session in the mud we started to talk about finding somewhere to stay. There is not much flat ground in this area and where ever there is flat land, there is always a house. At the bend of the road we found a large flat area that was used as a deposit for gravel. No work was going on and we were alone there so we decided to pitch our tent on top of the piles of gravel. Gravel is dusty and we and our equipment turned grey after staying at Camp Gravel Hill….

Greta at Camp Gravel Hill

Greta at Camp Gravel Hill

We took on the big climb the following morning and it went very well. It was the first 1000 meter climb for Greta and she did just great. Not so far from the top we caught up with a french cyclist who rides a recumbent and we rode together to the next city where checked into a small hotel that had signs in thai and laotian, but no staff that could speak any of those languages.

We parted with the frenchman the next morning since he had to take a bus out of the country due to his visa was about to expire. Our plan for this day was to cycle for 100 km but after 85 km we saw a path that led from the road to a little hill. We thought it could be a good place to camp and pushed our bike through out on the hill and parked the bikes beside a low concrete wall. Not until after the tents were up did I realize that this was actually a grave and there was another one 15 meters further on too. We had some fruit with us and when we left in the morning Wej did just like what she usually does when visiting a chinese grave – she put a fruit in front of it and gave it a ”wai”.

Leaving a fruit in front of the grave as a thank you to the one who stays inside.

Leaving a fruit in front of the grave as a thank you to the one who stays inside.

Next day we arrived in Mengla which is the last proper city before the border to Laos. Our plan was to ride past it but it looked so nice so we decided to stay and spend the evening just walking around and absorp the atmosphere. It all resembled a Thai city very much and Wej and I couldn’t stop pointing out similarities to Thailand.

It is only 50 km from Mengla to the border and we arrived to the checkpoint by noon. After having lunch and changing money we left China after 77 very interesting days. We only cycled some 50 km on the Laos side the first day and stayed the night at a small guesthouse.

We pitched our tents on the third floor at Camp Drum Tower

We pitched our tents on the third floor at Camp Drum Tower

On top of Camp Drum Tower

On top of Camp Drum Tower

The next day we found the most exotic and unusual campsite so far on this trip. When cycling in Thailand it is always OK to camp at the buddhist temples and when passing a temple in the late afternoon we decided to ask if we could camp there. Greta pointed towards the tall drumtower and said it would be a dream to camp there. Wej asked the abbot if we could camp at the temple and he said yes. When she asked where, he pointed towards the tower and Greta’s first dream got true. We then had our evening shower in the nearby river and her second dream got realized too…. 🙂

A monk and a novice at the temple where we set up Camp Drum Tower

A monk and a novice at the temple where we set up Camp Drum Tower

The roads in Laos had so far been good, but immediately after leaving Camp Drum Tower we got on a road that was in bad condition. First we had to do a major climb and then we had to speed down zig-zagging between the potholes and the loose gravel and we just barely made it to the small town of Pak Mong before it got dark.

That day we found no place to have lunch and when we stopped to ask where the next restaurant was we were informed that it was far away. Wej has an amazing ability to communicate with strangers and she and the housewife joked and laughed a lot and it all ended up in Wej preparing an omelette in her kitchen. Imagine stopping outside a complete strangers house and 15 minutes later being busy cooking your lunch in that strangers kitchen – it takes some charm and communication skill to get that far…. 🙂

In most countries it would be a man on this sign. in Laos it is a woman. Interesting!

In most countries it would be a man on this sign. in Laos it is a woman. Interesting!

Thailand is usually called the land of smiles. Cycling in Laos proved that Laos is the land of the even bigger smiles. We liked China and the chinese people, but they were a bit reserved. It only took us one hour of cycling in Laos to realise that the laotians seem to be much more outgoing towards bypassing strangers. There is always a big smile and everywhere the children shout ”sabaidee” (hello) and wave at us. It will be very interesting to see if it will be like this when we ride across the Thai countryside.

Waiting for a foot massage in Luang Prabang. The quick changes between the cosy life in nice guesthouses and rough camping is one of the joys of this journey. Look at my two colored legs -  I am working hard to get a true cyclist tan

Waiting for a foot massage in Luang Prabang. The quick changes between the cosy life in nice guesthouses and rough camping is one of the joys of this journey.Look at my two colored legs – I am working hard to get a cyclist tan.


Arriving into Luang Prabang was like arriving into a giant tourist attraction. Hotels and guesthouses everywhere and cosy restaurants serving nice food line the streets. There are plenty of foreign tourists here and we have spent a two days relaxing, eating and getting a very needed massage for our aching muscles.

Tomorrow we will start the four day ride to Laos capital Vientienne. I will apply for visa to Thailand there and while we wait there we will sit on the shores of the Mekhong river, drinking a Beer Lao and watching Thailand on the other side.

P.S. Some of the photos in this post is taken by Greta.

Greta flying over our guesthouse on her way home. Have a safe trip - it was a pleasure to cycle with you.

Greta flying over our guesthouse on her way home. Have a safe trip – it was a pleasure to cycle with you.

จีน => จาก Kunming (คุนหมิง) ไปมณฑล Xishuangbanna (สิบสองปันนา)

หยุดอยู่ท่ีคุนหมิงยาวไปหน่อย ไม่ค่อยมีอะไรน่าตื่นเต้น อืม..มีวันหนึ่งระหว่างทางท่ีปั่นเข้าคุนหมิง เราเห็นรถตำรวจคันหนึ่งจอดอยู่ข้างทาง พอปั่นไปใกล้ ๆ ก็เห็กนักปั่นคนหนึ่งยืนอยู่กับตำรวจอีก 4 คน คุยกันได้แป๊บนึง เพราะเวลาเราน้อยลงทุกที เพราะช่วงนี้มืดเร็ว หกโมงก็มืดแล้ว ตำรวจชวนคุยอีกและคะยั้นคะยอให้เราหยุดรอรถอีกคันหนึ่งเพื่อไปส่งเราในเมือง เขาว่าทางขึ้นเขาพวกเราปั่นไปยังไม่ทันถึงก็มืดแล้ว แต่เรายืนยันว่าเราปั่นได้แค่ 20 โลเอง สุดท้ายเขาก็ปล่อยเราและนักปั่นจากเยอรมันให้ปั่นกันไป สรุปแล้ว ตำรวจเขาถูก เพราะยังไม่ทันถึงตัวเมืองก็มืดสนิท แถมไฟหน้าโจคิมดันใช้ไม่ได้อีก โชคดีท่ีเจอเพื่อนคนเยอรมันคนนี้ ไม่อย่างนั้นคงได้กางเต้นท์อยู่นอกเมืองแน่ คืนนั้นฝนตกหนาวมากช่วงท่ีไหลลงจากเขา พอเข้าเมืองหยุดตรงสี่แยกก็เห็นป้ายโรงแรม เดี๋ยวนี้เห็นป้ายแล้วรู้ทันที เดินเข้าไปถาม ท่ีแรกก็ได้เลย ห้องก็ดูดี ถูกด้วย เราเห็นว่าถูกเนอะ ก็เลยไม่ได้ถามถึงอาหารเช้าและอินเตอร์เนต ว้าว … มีทั้งสองอย่างเลยเขาเดินขึ้นมาบอกถึงห้องเลย งงเล็กน้อย

วิวข้างทางก่อนถึงคุนหมิง ช่วงเข้าคุนหมิงไม่่ค่อยมีรูปเพราะฝนตกเกือบทุกวัน ได้ไม่กี่ภาพช่วงครึ่งวันท่ีฟ้าเปิด ;-)

วิวข้างทางก่อนถึงคุนหมิง ช่วงเข้าคุนหมิงไม่่ค่อยมีรูปเพราะฝนตกเกือบทุกวัน ได้ไม่กี่ภาพช่วงครึ่งวันท่ีฟ้าเปิด 😉

นักปั่นชาวเยอรมันชื่อ ”ลุดวิค” เขาน่าจะ 50 กว่า ๆ เป็นผู้ใหญ่น่ารักแต่เราคุยกันไม่รู้เรื่อง เขาพูดภาษาอังกฤษแทบจะไม่ได้ โจคิมต้องคุยแบบผสมอังกฤษกับเยอรมัน บทสนทนาท่ีโต๊ะอาหารเวลานั่งกินข้าวกัน ก็ไม่ใช่อะไรอื่นนอกจากคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้กันและกัน กลายเป็นว่าเขารู้จักคนเยอรมันคู่นั้นท่ีเราเจอตอนท่ีเราไปต่ออายุวีซ่า โลกจักรยานมันกลม ๆ เหมือนล้อจริง ๆ 3 วันท่ีปั่นเข้าคุนหมิงรู้สึกทรมานมาก ทั้งหนาวและเปียกแฉะ ยังดีท่ียังพอหาท่ีนอนได้โดยท่ีไม่ต้องกางเต้นท์ คืนแรกนอนโรงแรม คืนท่ีสองนอนท่ีพักแรมของพวกขับรถบรรทุกและเป็นท่ีพักท่ีถูกท่ีสุดในจีนเท่าท่ีเคยพักมาในระยะเวลาเกือบ 3 เดือน

อีกมุมหนึ่งระหว่างทางไปคุนหมิง

อีกมุมหนึ่งระหว่างทางไปคุนหมิง

ลุดวิคจองห้องพักใน Booking.com เขาชวนเราไปอยู่ด้วย เกรงใจเลยตอบโอเค ระหว่างทางท่ีปั่นไปหาท่ีพักท่ีจองไว้ ก็รู้สึกว่านี่มันออกนอกเมืองมากไปแล้วนะลุง พอถึงก็หาไม่เจออีก เพราะมันไม่ใช่โรงแรม มันเป็นอพาร์ตเมนท์ปล่อยให้เช่า กว่าจะคุยกันรู้เรื่อง กว่าจะได้กุญแจ ยืนสั่นดิก ๆ เลย เพราะเปียกมาตลอดทั้งสามวัน พออาบน้ำเสร็จ เอ่อ..แจ็กเก็ตเปียก เสื้อผ้าส่วนใหญ่ก็เปียก รูมเซอร์วิสก็ไม่มีเนอะ แต่เห็นแม๊คโดนัลอยู่ใกล้ ๆ น่าจะวิ่งไปถึงก่อนท่ีจะเปียก ห้องท่ีจองไม่มีเครื่องทำความร้อน อาจจะเป็นเพราะว่าคุนหมิงมีอากาศหนาวไม่บ่อยและไม่นานมั้ง เขาเลยไม่มีติดตั้งไว้ หนาวมาก อยู่ในห้องต้องใส่เสื้อผ้าตั้งหลายชั้น แต่ก็ทนอยู่ได้ตั้งสามคืน 🙂 และวันนี้เองเราได้เจอเพื่อนคนโปแลนด์อีกครั้งหนึ่ง ”บาเทค” ปั่นไล่กันมาเรื่อย ตอนนี้เขาอยู่ข้างหน้าเราแค่ 100 โลเอง คงได้เจอกันท่ีหลวงพระบาง และท่ีคุนหมิงเช่นกัน ปรากฎว่าทนไม่ไหว ”ขอตัดผม” ก่อนออกจากสวีเดนเคยตั้งใจไว้ว่าจะไม่ตัดผมจนกว่าจะถึงบ้านท่ีเมืองไทย แต่ขี้เกียจสระผมเลยเดินเข้าร้านตัดผมทั้งสองคนเลย เบาหัวดี

ตึกอพาร์ตเมนท์ท่ี ”ลุดวิค” จอง เราแชร์กับเขาอยู่ชั้น 16 สูงท่ีสุดเท่าท่ีเคยอยู่โรงแรมในทริปนี้ล่ะ แต่เย็นเป็นท่ีสอง รองจาก ”ลัคมุซี่” (Langmusi)

ตึกอพาร์ตเมนท์ท่ี ”ลุดวิค” จอง เราแชร์กับเขาอยู่ชั้น 16 สูงท่ีสุดเท่าท่ีเคยอยู่โรงแรมในทริปนี้ล่ะ แต่เย็นเป็นท่ีสอง รองจาก ”ลัคมุซี่” (Langmusi)

เราดูพยากรณ์อากาศเห็นว่าอากาศจะดีวันพฤหัส งั้นเราออกวันนั้นกันดีกว่า พอปั่นออกมาได้หน่อย ทางเริ่มแย่ แย่ และแย่ลงเรื่อย ๆ ไม่ใช่แค่นั้นยังมีเสียงหนึ่งดังแทรกขึ้นมาด้วยคือจักรยานโจคิม เขารู้สึกว่ามันครืด ๆ ท่ีกะโหลก จะไปต่อก็ไม่รู้ว่าเมืองข้างหน้าจะมีร้านมีอะไหล่ให้เราซื้อหรือเปล่า จะกลับไปคุนหมิงก็เสียดายอากาศ อุตส่าห์รอจนอากาศดี แต่กลับดีกว่า เพราะยังงัยเราก็ต้องมารอลูกพ่ีลูกน้องของโจคิมชื่อ ”กเรต้า” ท่ีจะมาร่วมทางปั่นกับเราจากมณฑลสิบสองปันนาไปหลวงพระบาง กลับหลังหัน แต่เราไม่กลับไปท่ีอพาร์ตเมนท์นั้น เราไปท่ีเกสต์เฮาส์ ซึ่งดูจากภาพแล้วน่าอยู่่กว่ามีดาดฟ้าให้นั่งชมวิว และยังได้พบกับนักเดินทางคนอื่น ๆ ด้วย เราเจอนักปั่นสองคู่่จากฝรั่งเศส ก็ได้คุยกันนิดหน่อย

คุนหมิงกับแสงสีในเวลากลางคืน

คุนหมิงกับแสงสีในเวลากลางคืน

บ่ายของอีกวันหนึ่งโจคิมจะไปรับ ”กเรต้า” เวชรออยู่ท่ีเกสต์เฮาส์ หลังจากท่ีเดินไปส่งโจคิมขึ้นแท๊กซี่ก็เดินกลับมาท่ีพัก เจอพี่ ๆ คนไทยเป็นอาจารย์น่าจะปลดเกษียณกันทุกคนแล้วนะค่ะ มาเท่ียวกันเป็นครอบครัวและเพื่อน ๆ ดีใจได้เจอคนไทย หลังจากท่ีโจคิมกับกเรต้ามาถึง เราจัดการประกอบจักรยานซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากร้าน Bok Bok Bike น้องหมาท่ีน่ารัก บริการประกอบแพ๊คส่งให้ถึงมือ ไม่ได้หมาท่ี Bok Bok Bike ก็ไม่รู้ทำอย่างไรเหมือนกันนะเนี่ย ขอบคุณมา ณ ท่ีนี้ค่ะ

จักรยานพร้อม นักปั่นพร้อม (แต่ทำไมยังไม่ลืมตา) ออกเดินทางได้

จักรยานพร้อม นักปั่นพร้อม (แต่ทำไมยังไม่ลืมตา) ออกเดินทางได้

นับวันแล้วกเรต้ามีเวลาปั่นแค่ 10 วัน เพราะฉนั้นเราจึงต้องนั่งรถทัวร์ไปลงท่ีเมืองโมเจียง Mojiang เพื่อทำเวลาไม่อย่างนั้นคงได้นั่งรถบัสเข้าหลวงพระบางอีกแน่ แต่ก่อนไปท่ีสถานีรถทัวร์เราแวะไปท่ีร้านจักรยานก่อน เพื่อเปลี่ยนอะไหล่บางส่วนท่ี ”หมา” ส่งมาพร้อมกับกเรต้า เรียบร้อยแล้วเราปั่นออกมาแต่ปั่นกันได้แค่ 5-6 โล โซ่โจคิมขาด ต้องกลับไปร้านจักรยานอีก โชคยังดีท่ีโซ่ไม่ได้ไปขาดท่ีสถานีรถทัวร์หรือไกลกว่านั้น เรียบร้อยแล้วก็ไปขึ้นรถกันเป็นรถนอน ดีเหมือนกันนะ เป็นเตียงนอนสองชั้นเรียงกันสามเตียงตามขวาง จุได้หลายเตียง นอนกันไปกว่าจะถึงเกือบสี่ทุ่ม รถทัวร์เขาก็วิ่งบนทางด่วน แต่ถ้าเราปั่นเราต้องใช้ทางเล็ก ๆ ซึ่งเคยได้ sms จากบาเทคว่าถนนแย่มาก บางครั้งเขาต้องลงมาเข็นจักรยาน มีหลุมมีบ่อเพียบ แต่จากรถทัวร์ทางน่าปั่นแถมลงเขาอีกต่างหาก ไว้ไปปั่นเพิ่มเติมท่ีเมืองไทยชดเชยเอา 😉

หาถุงพลาสติคมาใส่เพิ่มท่ีขากันฝน ดูไม่เท่แต่ขอให้ใช้ได้เป็นพอ

หาถุงพลาสติคมาใส่เพิ่มท่ีขากันฝน ดูไม่เท่แต่ขอให้ใช้ได้เป็นพอ

พอไปถึงเมืองโมเจียง เช็คอินเรียบร้อยก็ลงไปหาอะไรกินกัน เดินตามถนนใหญ่เพราะคิดว่าร้านน่าจะเปิด แต่กลับกลายเป็นว่ามีร้านเปิดคึกคักมากมายอยู่ด้านหลังถนนใหญ่นั่นเอง ฝนยังคงตกอยู่อย่างสม่ำเสมอ เช้าขึ้นมาก็ยังตก เราเตรียมเอาถุงพลาสติคมาสวมเท้าก่อนใส่รองเท้า พอปั่นออกมาได้หน่อยทางเริ่มขรุขระ แถมเป็นโคลนดินดีท่ีไม่เหนียว ทั้งสองวันเราปั่นอยู่ในถนนท่ีค่อนข้างสมบุกสมบัน จักรยานเขรอะไปหมด โชคดีท่ีเจอบ้านคน เขาบอกให้เราไปล้างรถหน้าบ้านเขาก็ได้ สุดยอด เพราะถ้ารอให้มันแห้งคงล้างยากน่าดู ต่อ ๆ มา ก็เริ่มมีเสียงตรงนั้นตรงนี้ วันรุ่งขึ้นรถเวชเปลี่ยนเกียร์ไม่ได้เลย ต้องแกะต้องเปลี่ยนหยอดน้ำมัน สงสารจักรยาน บางครั้งอยากให้ถึงกรุงเทพฯ เร็วเหมือนกันเพื่อจักรยานเราได้พัก แต่ถ้าเราดูแลมันดีหน่อย มันก็คงอยากจะออกไปเท่ียวมากกว่าจะถูกจอดไว้เฉย ๆ นะ 🙂

น่าจะเป็นเพราะว่าฝนตก น้ำท่ีไหลมาจึงเป็นสีน้ำตาลข้น เชียวแหละ

น่าจะเป็นเพราะว่าฝนตก น้ำท่ีไหลมาจึงเป็นสีน้ำตาลข้น เชียวแหละ

ดูจากสภาพจักรยานแล้วสงสารมันเลย คงจะสำลักน้ำโคลนทรายคลั่ก ๆ นั้นไปหลายอึกทีเดียว เพราะเช้ามาเวชเปลี่ยนเกียร์แทบจะไม่ได้เลย

ดูจากสภาพจักรยานแล้วสงสารมันเลย คงจะสำลักน้ำโคลนทรายคลั่ก ๆ นั้นไปหลายอึกทีเดียว เพราะเช้ามาเวชเปลี่ยนเกียร์แทบจะไม่ได้เลย

ช่วงท่ีเราปั่นอยู่ในเขตสิบสองปันนานั้น มันให้ความรู้สึกเหมือนปั่นอยู่ทางภาคเหนือของเมืองไทยเลย เพียงแต่ทางปั่นขึ้นเขาไม่ชันเท่าบ้านเราเท่านั้นเอง บรรยากาศโดยรอบดูร่มรื่น เต็มไปด้วยต้นไม้ใหญ่, สวนกล้วย, ข้าวโพด, ต้นยาง และนาข้าวเต็มไปหมด ไม่มีพื้นท่ีไหนท่ีปล่อยว่างนอกจากท่ีเป็นป่า เราปั่นเข้ามาท่ีเมือง ๆ หนึ่ง ตอนแรกคิดว่าเราไม่มีน้ำและเสบียงเพียงพอท่ีจะตั้งแคมป์ เลยคิดว่าถ้าปั่นไปอีกหน่อยเจอร้านแล้วซื้อตุนไว้น่าจะดี แต่หาไม่เจอร้านท่ีไหนเลย ดูจากจีพีเอสเห็นว่าจะมีหมู่บ้านท่ีใหญ่ขึ้นมาหน่อย เอ้า..ลองไปดู ใกล้มืดเต็มที พอไปถึงก็มีคนบอกว่ามีโรงแรมนะ ที่เดียวด้วย เราเลยแวะเข้าไปดู มันเป็นเหมือนรีสอร์ต เพราะแถวนั้นมีวนอุทยานฯ ท่ีคนจีนเขามาเท่ียวกัน ช่วงเวลาท่ีเราไปถึงนั่นน่าจะไม่ใช่ฤดูท่องเท่ียวเพราะไม่เห็นมีใครมากมายนัก ได้เวลาอาหารเย็นเราเดินออกไปเห็นเขากำลังยืนย่าง ๆ อะไรอยู่เลยเดินเข้าไปดู ได้ยินเขาคุยกัน ฟังดูแล้วไม่น่าจะเป็นภาษาจีน อาจจะเป็นลาว เลยลองทัก ”สบายดี?” เขาตอบกลับมาว่า ”สบายดี” อ่ะ โห..ดีใจสุด ๆ ยิ้มแก้มแทบปรี และตั้งแต่คืนนั้นก็ไม่ต้องเอาไอโฟนออกมากด ๆ อีกเลย เพราะไม่มีปัญหาอีกต่อไปในเรื่องการสื่อสาร ระยะทางท่ีปั่นไปทางชายแดนระหว่างจีนและลาว เป็นทางเขาขึ้นลง แต่ทางสวยมากร่มรื่นผู้คนเร่ิมยิ้มแย้มทักทายมากขึ้น ตั้งแต่เราได้กเรต้ามาปั่นด้วยแล้ว เราหาท่ีกางเต้นท์ทั้งสองท่ีดูดี วิวสุดยอด พักในสถานท่ีท่ีน่าอยู่

จุดกางเต้นท์บนเขา ตอนเดินเข่้าไปหาท่ีกางเต้นท์ก็ไม่ทันดู พอเช้าถึงได้เห็นว่าเป็นสุสานนิ เลยเอาผลไม้วางไว้ ไม่ได้จุดธูปเขาจะรู้มั้ยเนี่ย ขออภัยมา ณ ท่ีนี้

จุดกางเต้นท์บนเขา ตอนเดินเข่้าไปหาท่ีกางเต้นท์ก็ไม่ทันดู พอเช้าถึงได้เห็นว่าเป็นสุสานนิ เลยเอาผลไม้วางไว้ ไม่ได้จุดธูปเขาจะรู้มั้ยเนี่ย ขออภัยมา ณ ท่ีนี้

จนกระทั่งเราปั่นมาถึงเมืองเมงล่า (Mengla) เหลือเวลาอีกแค่ชั่วโมงเดียวก่อนพระอาทิตย์ตกดิน เราปั่นไม่ได้ระยะทางเท่าไหร่ แต่ก็ขี้เกียจปั่นออกไปหาท่ีกางเต้นท์ เลยมองหาโรงแรมแทน เราเข้าท่ีพักค่อนข้างเร็ว เลยได้เดินเล่นชมเมือง เย็นวันนั้นเองเรานั่งกินข้างสวนสนุกเคลื่อนท่ี ดูเหมือนเขาจะย้ายกันไปเรื่อย ๆ อยู่ตรงนี้ 2-3 อาทิตย์แล้วก็ย้ายไปอีกเมือง เดาเอานะค่ะ มื้อนี้เราได้กินอาหารท่ีไม่ค่อยจะจีนสักเท่าไหร่ สั่งสลัด เอารูปให้ดูด้วยนะ ในรูปมีทั้งหัวหอม มะเขือเทศ ผักชี แต่พอเขายกมากลายเป็นสลัดแตงกวามาแบบยำเลยอ่ะ รสชาติไทยแท้ ๆ

SONY DSC

Short update from south Yunnan

We have camped a couple of nights during the last few days and I have prepared a longer text about our ride from Kunming towards the Laos border. It takes longer time to write while sitting in a tent and it isn’t ready yet. When we checked in at a hotel last night and found out that there is internet in the room I decided to make a short update to tell that we are alright.

We have cycled together with Greta for five days now and we have traveled on a minor provincial road that is very beautiful. The road passes small villages and occasionally some minor towns. The landscape is very hilly to say the least and the last three days have been a roller coaster. We have slowly climbed up the steep hills and speeded down the serpentines. The road has been in good condition apart from an almost 20 km long and very muddy section where the slushy mud sometimes reached up to the hubs of our wheels.

This area of China has many minorities and for a few days we have been wondering when we will see the first signs of thai and lao culture. A couple of days ago we could see buildings that looked very similar to those in northern Thailand and when we arrived to this town we saw a temple that looked just like they look in Thailand. When went out to have dinner we thought that the people running the restaurant spoke something that wasn’t Chinese. Wej gave it a try and addressed them in Thai and they immediately responded in Lao. Thai and Lao languages are very similar (like Swedish and Danish) and even I could join the conversation. No need to communicate with sign language and using google translate on the smartphone anymore…. 🙂

The distance to the border to Laos is now 100 km and our plan for today is to stay ride as far as we can but not cross over into Laos until tomorrow morning. Once inside Laos we won’t have any internet connection until we reach Luang Prabang either on Wednesday or Thursday afternoon. This means that the next blog update will be published late next week.

Please enjoy the photos below as a teaser for the proper update of the blog that will come next weekend.

Misty morning very close to the Lao border

Misty morning very close to the Lao border

Our tent at night

Our tent at night

The entrance to the thai style temple next to the hotel where we are staying right now

The entrance to the thai style temple next to the hotel where we are staying right now

Greta and Wej enjoying a short break

Greta and Wej enjoying a short break

At one of our camp sites

At one of our camp sites

Dinner at Camp Gravel Hill

Dinner at Camp Gravel Hill

One of our camp sites turned out to be next to a grave

One of our camp sites turned out to be next to a grave

Nice view

Nice view